ทบทวนนิยามการศึกษาและการเรียนรู้: จุดเริ่มต้นการแก้ปัญหาคุณภาพการศึกษา

Main Article Content

สมาน อัศวภูมิ

บทคัดย่อ

ไม่มีข้อสงสัยหากจะสรุปว่า การศึกษาเป็นเครื่องมือสำคัญในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในประเทศต่างๆ ทั่วโลก ทั้งอดีตและปัจจุบัน แต่ดูเหมือนจะมีความชัดเจนว่า การศึกษาไม่ได้ทำหน้าที่ดังกล่าวนี้ อย่างน้อยก็คือกว่าที่เคยเป็น คำถามก็คือ “ทำไม” เพราะการศึกษาเคยเป็นเครื่องมือที่ไว้ใจได้ในการเรียนรู้ของเผ่าพันธุ์มนุษย์มากว่าสามพันปี แต่ไม่เป็นอย่างนั้นอีกต่อไปแล้ว ข้อสังเกตหนึ่งของผู้เขียนคือ นิยามการศึกษาและการเรียนรู้ไม่เป็นอย่างที่เราอยากได้ และไม่สามารถนำใช้ได้ดีในการแก้ปัญหาภายใต้ความซับซ้อนและการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน ดังนั้นสิ่งที่เราต้องทำคือ ต้องคิดใหม่และทบทวนนิยามภาระงานของเราใหม่คือ นิยามการศึกษาและการเรียนรู้ บทความนี้ไม่ใช่คำตอบของปัญหาทั้งหมด แต่เป็นการขอเรียกร้องให้เปิดมิติใหม่เกี่ยวกับการศึกษา ที่จะนำไปสู่การสร้างสังกัปการศึกษาใหม่ และนำใช้ในการช่วยเหลือผู้เรียนในการการเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นต่อไป

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

ราชกิจจานุเบกษา. (2542). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 116 ตอนที่ 74 ก. (19 สิงหาคม 2542).

Carlson, R.V. RefCarter, C, Bishop, J and Lyman, K. (2002). Keys to Effective Learning. Upper Saddle River, New Jersey: Prentice Hall.

Glover, D and Law, S. (2002). Improving Learning: Professional Practice in Secondary Schools. Buckingham: Open University Press.

Hilgard, E.R. and Bower, G.H. (1975). Theories of Learning. Englewood Cliffs, New Jersey: Prentice-Hall.

Lunenburg, F.C. and Ornstein, A.C. (1991). Educational Administration: Concept and Practice. Belmont, California: Wadsworth Publishing Company.

Ornstein, A.C., Levine, D.U., Gutek G.L.and Vocke, D.E. (2011). Foundation of Education. Australia: Wadsworth.

Schunk, D.H. (2008). Learning Theories: An Educational Perspective. (5thed.). Upper Saddle River, New Jersey: Pearson Merrill Practice Hall.