The Leadership of the Twenty-first Century School Administrators under the Jurisdiction of the Office of the Secondary Education Service Area 29
Main Article Content
Abstract
The research aimed to study and compare the leadership of the twenty-first school administrators under the jurisdiction of the Office of the Secondary Education Service Area 29 classified by positions, working experiences and school size; and to examine the recommendations of the administrators and teachers on the leadership.The sample used in the research consisted of 123 school administrators and 335 teachers. A sample size was determined by Krejcie and Morgan’s table. The research instrument was a five-rating scale questionnaire with a total confidence value of .97. Statistics used in data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test and F-test.
The research findings were as follows.
- The leadership of the twenty-first century school administrators in the study was found to be at a high level.
- The opinions of the administrators and teachers towards administrators’ leadership, classified by working experiences, and school size found to be statistically different at .05 level of significance, while classifying by positions revealed no difference.
- The recommendations and guidelines to develop the leadership of the school administrators in the study were as follows. The administrators should be far-sighted and well-informed with the changing events; they should be knowledgeable and competent; they should administer with a good governance; they had to treat others in a fair and equal way; they should be able to engage the communities in determining the strategies in driving the schools; assignments should be given according to the individuals’ ability and aptitude; they should not be too disciplined and too flexible; technology should be introduced in the instructional process; they should be ethical, virtuous and willing to listen to others.
Article Details
ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะใด ๆ ที่นำเสนอในบทความเป็นของผู้เขียนแต่เพียงผู้เดียวโดยบรรณาธิการ กองบรรณาธิการ และคณะกรรมการวารสารราชธานีนวัตกรรมทางสังคมศาสตร์ไม่ได้มีส่วนเกี่ยวข้องแต่อย่างใด มหาวิทยาลัย บรรณาธิการ และกองบรรณาธิการจะไม่รับผิดชอบต่อข้อผิดพลาดหรือผลที่เกิด จากการใช้ข้อมูลที่ปรากฏในวารสารฉบับนี้
References
จันทกานติ์ ตันเจริญพานิช และ นิตยา เงินประเสริฐศรี. (2550). ทิศทางการพัฒนาภาวะผู้นำภาครัฐของไทยในคริสต์ศตวรรษที่ 21. วารสารสังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์. 33 (มกราคม) : 82-90.
จินดา วงศ์อำมาตย์. (2550). ภาวะผู้นำร่วมสมัยในการปฏิบัติงานของผู้บริหารสถานศึกษา ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุบลราชธานีเขต 5. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี.
นคร เสรีรักษ์ และ ภรณี ดีราษฎร์วิเศษ. (2555). วิจัยไม่ใช่เรื่องยาก. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: สามลดา.
บุษยพรรณ พรหมวาทย์. (2558). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษากับการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพะเยา เขต 1. การศึกษาค้นคว้าการศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยพะเยา.
บุญชม ศรีสะอาด. (2545). การวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.
พิมพ์ฐดา วัจนวงศ์ปัญญา และคณะ. (2558). กลยุทธ์การพัฒนาคุณลักษณะผู้นำแบบไทย ของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอิสเทิร์นเอเชีย. 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม): 208-221
เพ็ญประภา ธรรมบุตร. (2556). ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายโสธร เขต 1. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี.
แพรดาว สนองผัน. (2557). ทักษะของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 3. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
มยุรา ศรีสมุทร. (2555). การศึกษาแบบภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาตามทรรศนะของผู้บริหารและครู สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดอุบลราชธานี. วิทยานิพนธ์ครุศาสตร มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี.
มัทนา ศรีโยธา. (2550). ภาวะผู้นำของผู้บริหารสตรีที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการบริหารงานบุคคลของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาในจังหวัดสกลนคร. วิทยานิพนธ์ครุศาสตร มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.
วัจนารัตน์ ควรดี และณมน จีรังสุวรรณ. (2558). การปฏิรูปการศึกษาไทยเพื่อการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21. วารสารพัฒนาเทคนิคศึกษา. 93 (มกราคม – มีนาคม) : 12-20.
วิโรจน์ สารรัตนะ. (2556). กระบวนทัศน์ใหม่ทางการศึกษา กรณีทัศนะต่อการศึกษาศตวรรษที่ 21. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : ทิพยวิสุทธิ์.
______. (2542). การบริหาร หลักการ ทฤษฎี และประเด็นทางการศึกษา. กรุงเทพมหานคร : ทิพยวิสุทธิ์.
ศรุติพงศ์ ภูวัชร์วรานนท์. (2555). รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำทางวิชาการผ่านการเรียนรู้แบบผสมผสานสำหรับผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
สุมาลี ละม่อม. (2553). ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษาตามความคิดเห็นของครูผู้สอน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาศรีสะเกษ เขต 4. วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี.
สุรศักดิ์ อินศรีไกร. (2556). ทักษะที่สำคัญของผู้บริหารโรงเรียนในศตวรรษที่ 21 ที่ส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 2. รายงานการพัฒนาหลักสูตรนักบริหารระดับสูง กระทรวงศึกษาธิการ สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา.
อุเทน โรมพันธ์. (2552). การปฏิบัติงานตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษาด้านภาวะผู้นำ และความสามารถของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษายโสธร เขต 1. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี.
Hoy, W. K. and C. G. Miskel. (1991). Educational Administration. Singapore: McGraw–Hill International Editions.