@article{อุทยารัตน์_พระราชปริยัติกวี_วัฒนะประดิษฐ์_2019, title={วิกฤตสื่อในสังคมไทย: การศึกษาและการพัฒนารูปแบบ การรายงานข่าวสันติภาพโดยพุทธสันติวิธี: การศึกษาและการพัฒนารูปแบบ การรายงานข่าวสันติภาพโดยพุทธสันติวิธี}, volume={7}, url={https://so03.tci-thaijo.org/index.php/journal-peace/article/view/182933}, abstractNote={<p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสถานการณ์ข่าวสารในสภาพปัจจุบันและการรายงาน ข่าวของสื่อมวลชน 2) ศึกษาหลักการ แนวคิด ทฤษฎีการรายงานข่าวสันติภาพตามหลักพุทธสันติวิธี 3) เสนอรูปแบบการรายงานข่าวสันติภาพโดยพุทธสันติวิธี การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ผลการวิจัยพบว่า 1) สถานการณ์ข่าวสารปัจจุบันและปัญหาการรายงานของสื่อเกิดสภาวะที่เกิดการเปลี่ยนแปลง จากเทคโนโลยี เสมือนโดนคลื่นเทคโนโลยีถล่ม ส่งผลต่อการเคลื่อนย้ายทุน การเปลี่ยนแปลงภูมิทัศน์สื่อ ตัวสื่อมวลชน และจริยธรรมสื่อ 2) การรายงานข่าวสันติภาพเกิดขึ้นจากการคำนึงถึงประโยชน์ของสังคม ไม่ปรารถนาให้เกิดหรือสนับสนุนการใช้ความรุนแรงในการแก้ปัญหาความขัดแย้ง สอดคล้องกับหลักพุทธ สันติวิธี เพื่อการดำเนินชีวิตที่มีความสุขและอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างสันติท่ามกลางความแตกต่าง หลากหลาย แต่ยังไม่สามารถนำพาผู้อ่านหรือผู้รายงานข่าวไปสู่จุดหมายในชีวิต คือ ความสุข สันติ จึงต้องนำหลักธรรม คือกาลามสูตรและอริยสัจ 4 มาเป็นกุญแจแห่งความสำเร็จในกระบวนการทำงาน ประกอบกับหลักพรหมวิหาร 4 ปธาน 4 และอคติ 4 เท่ากับให้การศึกษาทางปัญญาและพัฒนาทั้งตัวผู้ส่งสารและผู้รับสาร และเป็นเครื่องมือที่ทำให้วิกฤตสื่อผ่านพ้นไปได้ด้วยปัญญาคือการให้ความรู้และข้อเท็จจริงแก่สังคม ดังเช่น การรายงานข่าวหมูป่าอคาเดมีติดถ้ำ 3) หลักพุทธสันติวิธีที่ประยุกต์ใช้ในกระบวนการรายงานข่าวมีหลักการ วิธีการ และกระบวนการที่สำคัญ คือ WP-3F with M คือการมีสติ เป็นฐานนำเสนอข้อเท็จจริง ทันเหตุการณ์ และก่อให้เกิดศรัทธา (Faith) ในตัวสื่อ จะนำสังคมให้เกิดปัญญา (Wisdom) ด้วยคุณลักษณะ MIM ของ นักข่าวยุคหลอมรวมสื่อ คือ Mindset, Inner Peace และ Multi-Skill</p>}, number={3}, journal={วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร}, author={อุทยารัตน์ ศรีลัดดา and พระราชปริยัติกวี and วัฒนะประดิษฐ์ ขันทอง}, year={2019}, month={มิ.ย.}, pages={723–736} }