วารสาร มจร พุทธปัญญาปริทรรศน์ https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jmbr <p><strong><span style="vertical-align: inherit;"><span style="vertical-align: inherit;"> ISSN : 2465-5503 (พิมพ์) </span></span></strong><br /><strong><span style="vertical-align: inherit;"><span style="vertical-align: inherit;"> ISSN : 2630-0524 (ออนไลน์</span></span></strong><span style="vertical-align: inherit;"><span style="vertical-align: inherit;"> )</span></span></p> <p><strong> วารสาร มจร พุทธปัญญาปริทรรศน์ </strong>เป็นวารสารด้านสังคมศาสตร์ <span style="vertical-align: inherit;">มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการศึกษา ค้นคว้า และเผยแพร่ผลงานวิชาการของนักวิจัย นักวิชาการ อาจารย์ นิสิต นักศึกษาและผู้สนใจทั่วไป </span>เปิดรับผลงานที่เป็นบทความวิชาการและบทความวิจัยในมิติด้านพระพุทธศาสนา ด้านศาสนศึกษา ด้านการศึกษา ด้านวัฒนธรรมศึกษา ด้านรัฐประศาสนศาสตร์ ด้านสังคมวิทยาและรัฐศาสตร์ <span style="vertical-align: inherit;"><span style="vertical-align: inherit;">โดยเปิดรับบทความทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ</span></span><span style="vertical-align: inherit;"><span style="vertical-align: inherit;"> <br /> วารสารมีกระบวนการประเมินคุณภาพจากผู้ทรงคุณวุฒิก่อนตีพิมพ์ โดยบทความที่ตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารต้องผ่านการพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิ อย่างน้อย 3 ท่าน ในลักษณะปกปิดรายชื่อ (Double blind peer-reviewed) ทั้งนี้บทความจากผู้นิพนธ์ภายในจะได้รับการพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกหน่วยงานที่จัดทำวารสาร ส่วนบทความจากผู้นิพนธ์ภายนอกจะได้รับการพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิภายใน หรือนอกหน่วยงานที่จัดทำวารสารที่มีความเชี่ยวชาญในสาขา และไม่มีส่วนได้ส่วนเสียกับผู้นิพนธ์ ทั้งนี้ บทความทีได้รับการตอบรับให้ตีพิมพ์เผยแพร่ต้องมีค่าความซ้ำของผลงานด้วยโปรแกรม CopyCat ในระบบ Thaijo ไม่เกิน 20% <br /></span></span></p> <p> </p> วิทยาลัยสงฆ์พุทธปัญญาศรีทวารวดี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย th-TH วารสาร มจร พุทธปัญญาปริทรรศน์ 2465-5503 APPROACH TO STRENGTHENING GOOD GOVERNANCE FOR UNIVERSITY GOVERNANCE OF LAO PDR https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jmbr/article/view/271285 <p>This research aims to identify strategies to enhance good governance in university administration in the Lao PDR. The research employed a qualitative approach was adopted, involving semi-structured interviews with 28 key informants from the Ministry of Education and Sports, National University of Laos, Suphanouvong University, Savannakhet University, and Champasak University. The collected data was analyzed using content analysis. The results can be summarized into a SMART model for enhancing university governance, comprising five key elements: S: Systematic and equitable human resource development; M: Transparent and fair university management systems; A: Stakeholder access and participation; R: Responsibility and accountability aligned with quality standards; and T: Monitoring of teaching and learning processes and communication channels with the university. This research will be beneficial as a guideline for the administration of all four universities, enabling them to overcome challenges in higher education management.</p> Phouvong Aphay Somsak Srisontisuk Awuth Ruenpakpoj Copyright (c) 2024 วารสาร มจร พุทธปัญญาปริทรรศน์ https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 2024-10-30 2024-10-30 9 5 1 12 SOCIAL WELFARE ADMINISTRATION IN EDUCATION IN THE THAMMIKACHON FOUNDATION FOR THE BLIND IN THAILAND UNDER THE ROYAL PATRONAGE https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jmbr/article/view/270982 <p>Research on Social Welfare Administration in Education in the Thammikachon Foundation for the Blind in Thailand under royal patronage has the objective of studying the problem conditions, management model of the school, and study guidelines for developing quality educational welfare of the school for blind and blind people with multiple disabilities, is qualitative research using in-depth interviews with 12 key informants. The results of the research found that 1) The overall problem is that there is a budget problem that is supported by the state but is insufficient, teaching staff/ teaching assistant teachers drop out because they get a new job or pass the civil service exam. Teachers graduate not in the right line of work due to a shortage of special education teachers, in terms of the teaching and learning process, the evaluation criteria were not clear because there were differences like disabilities and the health conditions of children with disabilities. 2) The management model was by the regulations of the Ministry of Education. In terms of buildings, curriculum, teaching and learning arrangements, and qualifications of teachers or teaching assistants 3) Guidelines for developing quality educational welfare That is, creating parallel classrooms, improving buildings, classrooms, and the surrounding atmosphere to be suitable and safe. Improving the learning process curriculum as specified in the Education for Persons with Disabilities Act 1999 is consistent with interest. Learners' aptitudes taking into account individual differences, organizing activities for learners to learn from real experiences, cultivating morality, and good values, developing potential to promote and support teachers to be able to organize an atmosphere environment, learning media and facilitators and for learners to learn Coordinating cooperation with parents, guardians, and people in the community to jointly develop students</p> Supawadeeporn Drejare Jaturong Boonyarattanasoontorn Copyright (c) 2024 วารสาร มจร พุทธปัญญาปริทรรศน์ https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 2024-10-31 2024-10-31 9 5 13 29 รูปแบบการพัฒนาทักษะวิชาชีพทางการศึกษาในการขับเคลื่อนและยกระดับนวัตกรรมการบริหารจัดการสถานศึกษาในการพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษา เพื่อความยั่งยืนและมีประสิทธิภาพในยุคดิจิทัล https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jmbr/article/view/281423 <p>บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาองค์ประกอบ ปัจจัย รูปแบบ และแนวทางการพัฒนาทักษะวิชาชีพทางการศึกษา รวมทั้งทดสอบความสอดคล้องของรูปแบบในการขับเคลื่อนและยกระดับนวัตกรรมการบริหารจัดการสถานศึกษาในการพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษา เพื่อความยั่งยืนและมีประสิทธิภาพในยุคดิจิทัล โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงผสมผสาน ทั้งเทคนิควิธีการเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ</p> <p>ผลการวิจัยพบว่า</p> <p>1 องค์ประกอบและแนวทางการพัฒนาทักษะวิชาชีพทางการศึกษาในการขับเคลื่อนและยกระดับนวัตกรรมการบริหารจัดการสถานศึกษาในการพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษา เพื่อความยั่งยืนและมีประสิทธิภาพในยุคดิจิทัล มีจำนวน 4 องค์ประกอบ คือ ด้านภาวะผู้นำ ด้านวัฒนธรรมของสถานศึกษา ด้านการสนับสนุนบุคลกร และด้านการจัดการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์</p> <ol start="2"> <li>สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ถดถอยพหุคูณแบบปกติของปัจจัยของปัจจัยในสมการพยากรณ์ สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบ = 1.073 + 0.289 (IL) + 0.186 (MQ) + 0.165 (HR) + 0.140 (EFF) ,สมการในรูปคะแนนมาตรฐาน <sub>y</sub> = 0.380 (IL) + 0.223 (MQ) + 0.204 (HR) + 0.202 (EFF)</li> <li>จากการวิเคราะห์โมเดลความสัมพันธ์ พบว่า ตัวแปรสังเกตได้ในแต่ละตัวแปรแฝงของโมเดลตามสมมติฐานการวิจัยเป็นตัวชี้วัดจริงตามกรอบแนวคิดการวิจัย และสอดคล้องกับโมเดลการวัด</li> <li>ตัวแปรแฝงภายนอก คือ ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรม ตัวแปรแฝงภายใน คือ มีอิทธิพลต่อวัฒนธรรมสถานศึกษาเชิงนวัตกรรม การจัดการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์ และการสนับสนุนบุคลกรทางการศึกษาเพื่อสร้างนวัตกรรมซึ่งตัวแปรแฝงภายนอกมีความสัมพันธ์กับแฝงภายใน โดยส่งอิทธิพลต่อการบริหารจัดการสถานศึกษาแห่งนวัตกรรมในยุคดิจิทัล</li> <li>การประเมินความเป็นไปได้และความเป็นประโยชน์ของรูปแบบการพัฒนาทักษะวิชาชีพทางการศึกษาในการขับเคลื่อนและยกระดับนวัตกรรมการบริหารจัดการสถานศึกษาในการพัฒนาผู้บริหาร มีความเป็นไปได้และความเป็นประโยชน์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิตที่ระดับ .01</li> </ol> <p>ทั้งนี้ รูปแบบฯ ที่ผู้วิจัยได้สร้างขึ้นสามารถนำมาใช้ประโยชน์ในการผลิตครู/บุคลากรทางการศึกษา เพื่อออกแบบการจัดการเรียนรู้และพัฒนาคุณภาพผู้เรียนที่ให้มีลักษณะที่เหมาะสมกับการเป็นพลเมืองโลก พัฒนาสถานศึกษาให้มีความพร้อม สามารถจัดการเรียนรู้ได้หลากหลาย การพัฒนาครูและผู้บริหารสถานศึกษาให้มีลักษณะเป็นนวัตกรเพื่อความยั่งยืนและมีประสิทธิภาพในยุคดิจิทัล</p> ภูมิภควัธจ์ ภูมพงศ์คชศร Copyright (c) 2024 วารสาร มจร พุทธปัญญาปริทรรศน์ https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 2024-10-30 2024-10-30 9 5 30 44 ทัศนคติของผู้นำองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต่อเขตเศรษฐกิจพิเศษ จังหวัดมุกดาหาร https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jmbr/article/view/281971 <p>บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการทัศนคติของผู้นำองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต่อเขตเศรษฐกิจพิเศษ จังหวัดมุกดาหาร 2) เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของทัศนคติของผู้นำองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต่อเขตเศรษฐกิจพิเศษ จังหวัดมุกดาหาร ในแต่ละพื้นที่มีความเหมือนหรือแตกต่างกัน เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้ให้ข้อมูลสำคัญที่ทำการเลือกแบบเฉพาะเจาะจง ได้แก่ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด 1 คน นายกเทศมนตรีเทศบาล 5 คน ปลัดเทศบาลในพื้นที่ 3 คน รวม 9 คน เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้ในการสัมภาษณ์เชิงลึก เป็นลักษณะคำถามแบบปลายปิด และคำถามที่ใช้ในการสัมภาษณ์เดี่ยว วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้วิเคราะห์เนื้อหาแล้วเขียนบรรยายเชิงพรรณนา</p> <p> ผลการวิจัยพบว่า 1) ผู้นำในท้องถิ่นโดยเป็นตัวแทนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีทัศนคติเชิงบวกต่อการเกิดขึ้นของเศรษฐกิจพิเศษมุกดาหาร ทุกคนมองว่าเป็นการดำเนินการที่ถูกต้องและสามารถสร้างความพัฒนาให้กับจังหวัดได้ 2) ทัศนคติของผู้นำองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในแต่ละพื้นที่มีความคิดเห็นใกล้เคียงกัน จะมีเฉพาะบางพื้นที่ที่มีความเห็นต่างในเรื่องของการประกาศให้พื้นที่ทั้งหมดมีลักษณะเหมือนกันคือสร้างให้เป็นอุตสาหกรรม 1 ท่าน แต่ทั้งหมดมีความเห็นเกี่ยวกับเขตเศรษฐกิจพิเศษจังหวัดมุกดาหารในทางบวก</p> อรปภัตร จันทรสาขา ณัฐพล พรมวิชา Copyright (c) 2024 วารสาร มจร พุทธปัญญาปริทรรศน์ https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 2024-10-30 2024-10-30 9 5 45 52