Walailak Journal of Learning Innovations https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jliwu <p><strong>วัตถุประสงค์และขอบเขตของวารสาร</strong></p> <p>วารสารนวัตกรรมการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ เป็นวารสารวิชาการราย 6 เดือน จัดพิมพ์เผยแพร่โดย มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ มีวัตถุประสงค์ในการจัดทำเพื่อเป็นสื่อกลางในการเผยแพร่ผลงานวิจัยและบทความวิชาการสู่สังคมด้านพัฒนาการเรียนการสอน ของคณาจารย์ นักวิชาการ และนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ทั้งภายในและภายนอกสถาบัน อันมีขอบเขตเนื้อหาเกี่ยวกับ</p> <p>1. Teaching and Learning Design/Plan.</p> <p>2. Educational/Classroom Research.</p> <p>3. Active Learning.</p> <p>4. Instructors' Effectiveness and potential.</p> <p>5. Learners’ Effectiveness and potential.</p> <p>6. Teaching and Learning Activities.</p> <p>7. Teaching Techniques and Strategies.</p> <p>8. Teaching and Learning Materials.</p> <p>9. e-Learning and Learning Innovation.</p> <p>10. Effective Learning Environment and/or Supporting factor.</p> <p>11. Assessment methods and/or Evaluating Processes.</p> <p>12. Learners’ Attitude and Motivation.</p> <p><strong>นโยบายการจัดพิมพ์และเผยแพร่</strong></p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; วารสารนวัตกรรมการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ได้สร้างพื้นที่ให้เกิดการแลกเปลี่ยน เผยแพร่ผลงานทางวิชาการและผลงานวิจัยระหว่างนักวิชาการในด้านสหวิทยาการสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ โดยมีผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาที่เกี่ยวข้องทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยเป็นผู้อ่านทบทวน (Peer Review) <strong>ตั้งแต่ 2 ท่านขึ้นไป ทั้งนี้กองบรรณาธิการใช้ระบบที่ผู้ประเมินและผู้เขียนบทความต่างไม่ทราบชื่อของแต่ละฝ่าย (double-blind review)</strong> บทความที่ได้รับการคัดเลือกจะถูกตีพิมพ์ลงในวารสาร และเผยแพร่บนระบบการจัดการวารสารไทยในระบบออนไลน์ (Thai Journals Online System (ThaiJO) <strong>ปีละ 2 ฉบับ คือ ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม เริ่มฉบับแรก เดือนมกราคม - มิถุนายน 2558</strong> ประเภทของบทความหรือบทความที่จะได้รับพิจารณาตีพิมพ์ในวารสารโดยแบ่งเป็น 4 ประเภท ดังนี้</p> <p><strong>1. บทความทางวิชาการ</strong>โดยทั่วไปเป็นบทความทางวิชาการที่นำเสนอเนื้อหาสาระทางวิชาการที่ผ่านการวิเคราะห์และประมวลจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ประกอบด้วย ความนำ เนื้อเรื่อง ซึ่งแบ่งเป็นประเด็นหลักประเด็นรอง ประเด็นย่อย และบทสรุปความยาวไม่เกิน 20 หน้า</p> <p><strong>2. บทความวิจัย</strong>เป็นบทความที่เกิดจากการวิจัยของผู้เขียนหรือสมาชิกร่วมในงานวิจัยนั้น ประกอบด้วย ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา วัตถุประสงค์ สมมุติฐานของงานวิจัย ขอบเขตที่ครอบคลุมในการวิจัยประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง วิธีดำเนินการวิจัย (ประกอบด้วยข้อมูลประชากรกลุ่มตัวอย่าง การสุ่มตัวอย่าง เครื่องมือการวิจัย และเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล) ผลการวิจัย (สรุปผลการวิจัย อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ)&nbsp;ความยาวไม่เกิน 25 หน้า</p> <p><strong>3. บทปริทัศน์</strong>หมายถึง บทความวิชาการที่เขียนขึ้นจากการทบทวนวรรณกรรมวิชาการที่เกี่ยวข้องมีการวิพากษ์และแสดงความคิดเห็นในเชิงวิชาการ ประกอบด้วย ชื่อเรื่อง บทคัดย่อหรือเรื่องย่อ คำนำ เนื้อเรื่อง และเอกสารอ้างอิงความยาวไม่เกิน 15 หน้า</p> <p><strong>4. บทวิจารณ์หนังสือ (Book Review)</strong>หมายถึง งานเขียนขนาดสั้นที่ทำการสรุปข้อโต้แย้งหลัก ๆ (Debates) ของหนังสือ 1 เล่ม (หรือหลายเล่มประกอบกัน) รวมถึงอาจจะมีการเสนอแนะว่าหนังสือเล่มนั้น ๆ มีจุดเด่น/จุดด้อยอย่างไรทั้งในเชิงทฤษฎี/ข้อมูล/ข้อค้นพบ และกลุ่มผู้อ่านที่น่าจะได้ประโยชน์จากหนังสือนั้น&nbsp;ความยาวไม่เกิน 5 หน้า</p> <h3 style="color: orangered;">"วารสารนวัตกรรมการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ไม่จัดเก็บค่าธรรมเนียมดำเนินการ "</h3> en-US <p>เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารนวัตกรรมการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ</p> <p>บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารนวัตกรรมการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารนวัตกรรมการเรียนรุ้ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อเพื่อกระทำการใดๆ จ้อต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารนวัตกรรมการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ก่อนเท่านั้น</p> [email protected] (Asst.Prof.Dr.Poonsit Hiransai) [email protected] (Mr.Surasak Chaowalit (Admin)) Mon, 02 Aug 2021 00:00:00 +0700 OJS 3.3.0.8 http://blogs.law.harvard.edu/tech/rss 60 Guideline to Develop the Geography Teaching Proficiency for Social Studies Teacher https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jliwu/article/view/243233 <p>The development of Geography teaching proficiency for Social Studies teacher was the way to enhance teachers in all areas; knowledge, skills and teaching performances particularly in Geography parallel with the 21st century learning. It focuses on teaching for students understand the physical appearance of the world. The interaction between human and environment which leads to the creativity in their ways of life, awareness and environment changing adaptation. It can also adopt themselves along with the abilities to use geographical knowledge; skills, process, performances, and tools to arrange resources and environment that bring to lifestyle adaptation. Thus the educators may consider the key factors to develop their performances; 1) The competency of knowledge consists of knowing of Geography, Geographic skill, the competency of Geography and core curriculum of social study, religious and cultural subject. 2) The competency of learning management by geographic procedure consists of 5 steps are Geographic questioning, collecting information, managing information, criticizing and analyzing information and concluding to answer the question. 3) The competency of assessment and evaluation consists of the basic idea of authentic assessment and evaluation of Geography, the method of authentic assessment and evaluation of Geography and the definition or the situation of applying authentic assessment and evaluation. These following performances allow teachers to gain the awareness and skills for teaching Geography thoroughly. As the result, students can apply these knowledge and skills with their teaching performances successfully.&nbsp;&nbsp; <strong>&nbsp;</strong></p> วัลลภา อินทรงค์ Copyright (c) 2021 Walailak Journal of Learning Innovations https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jliwu/article/view/243233 Mon, 02 Aug 2021 00:00:00 +0700