@article{จัตุทะศรี_2016, title={ศิลปะแห่งผ้า วรรณศิลป์แห่งรัก: ความสำคัญของผ้าในเสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน}, volume={45}, url={https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jletters/article/view/65792}, abstractNote={<p>บทความนี้มุ่งศึกษาลักษณะและความสำคัญของผ้าที่สัมพันธ์กับความรักของตัวละครในเสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน ฉบับหอพระสมุดฯ ผลการศึกษาพบว่า ผ้าในเสภาเรื่องนี้มีบทบาทเชื่อมโยงกับการนำเสนอความรักหลากหลายลักษณะ ได้แก่ ผ้าในฐานะสิ่งแทนตัวคนรัก ผ้าในฐานะสิ่งที่ช่วยเสริมเน้นและพัฒนาความรัก ผ้าในฐานะสิ่งกระตุ้นเตือนให้ระลึกถึงคนรักหรือเหตุการณ์รักในอดีต ผ้าในฐานะนัยสะท้อนเหตุการณ์รักที่กำลังเกิดขึ้นหรือจะเกิดขึ้น และผ้าในฐานะสิ่งสะท้อนมุมมองรักของตัวละคร ความสำคัญของผ้าในเสภาเรื่องนี้จึงแสดงให้เห็นบทบาทของประณีตศิลป์ในฐานะเป็นกลวิธีทางวรรณศิลป์ที่ช่วยนำเสนอความรักในวรรณคดีไทย</p><p><strong>From the Art of Textiles to the Literary Techniques of Love: <strong>The Significance of Textiles in <strong>Sepha Rueang Khun Chang Khun Phaen</strong></strong></strong></p><p>This paper aims to examine the significance of textiles related to characters’ love lives in Sepha Rueang Khun Chang Khun Phaen. The study finds that the textiles in the story have wide-ranging significance as regards love. The textiles are used as symbols of the beloved; to emphasize and develop feelings of love; to remind the character of his past love; to reflect and foreshadow love lives, and to be metaphors of love. The significance of textiles in Sepha Rueang Khun Chang Khun Phaen demonstrates the role of the minor arts as literary techniques to express various dimensions of love in Thai literature.</p>}, number={1}, journal={Journal of Letters}, author={จัตุทะศรี ธานีรัตน์}, year={2016}, month={Jan.}, pages={289–339} }