การศึกษาของสตรีญี่ปุ่น: ภายหลังการรับวัฒนธรรมจีนถึงต้นศตวรรษที่ 20

Authors

  • ชมนาด ศีติสาร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ประจำสาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Abstract

บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์การศึกษาของสตรีญี่ปุ่น โดยเน้นที่การศึกษาของกลุ่มสตรีในชนชั้นชาวบ้าน หรือสตรีในสังคมหมู่บ้าน เพื่อให้เกิดความเข้าใจเกี่ยวกับวัฒนธรรมญี่ปุ่นในภาพรวมมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ บทความนี้จะมุ่งวิเคราะห์ภาพรวมของความคิด หรือค่านิยมที่สังคมญี่ปุ่นมีต่อการศึกษาของสตรีตั้งแต่อดีตจนถึงต้นศตวรรษที่ 20 โดยแบ่งพัฒนาการออกเป็น 3 ช่วงสมัย ช่วงแรกคือการศึกษาของสตรีญี่ปุ่นภายหลังรับวัฒนธรรมจีนจนถึงสมัยเอะโดะ ช่วงที่สองคือการศึกษาของสตรีในสังคมหมู่บ้านสมัยคริสต์ศตวรรษที่17-19 และช่วงที่สามคือการศึกษาสมัยใหม่ หรือหลังการปฏิรูปการศึกษาในสมัยเมจิจนถึงต้นศตวรรษที่ 20 อันเป็นสมัยที่สตรีญี่ปุ่นเริ่มเข้าสู่การศึกษาระดับอุดมศึกษา

 

Japanese Women’s Education: From the Adoption of Chinese Culture to the Beginning of  20th Contury

This research paper focuses on the education of Japanese women, with particular emphasis on rural women or women in village societies, in order to provide a better understanding of Japanese culture as a whole.  The paper also aims to provide an analysis of Japanese social values and ideas on women’s education from the past until the twentieth century.  This development has been divided into 3 periods – from the adoption of Chinese culture to the Edo period, education for women in village societies from the seventeenth to the nineteenth century and, finally, modern education in the Post Meiji reform era when university education became available to Japanese women.


Downloads

How to Cite

ศีติสาร ช. (2016). การศึกษาของสตรีญี่ปุ่น: ภายหลังการรับวัฒนธรรมจีนถึงต้นศตวรรษที่ 20. Journal of Letters, 39(1), 246–301. Retrieved from https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jletters/article/view/53221