วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ https://so03.tci-thaijo.org/index.php/bru_graduate <table class="NormalTable"> <tbody> <tr> <td width="550"><span class="fontstyle0"><strong>กำาหนดเผยแพร่ </strong></span><span class="fontstyle2">ปีละ 2 ฉบับ ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม</span></td> </tr> </tbody> </table> <p>&nbsp;</p> บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ th-TH วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ 2351-051X Possibility of Alienation at University as Experienced by a Specific Group of Myanmar Youths https://so03.tci-thaijo.org/index.php/bru_graduate/article/view/256803 <p>This research has been done based on the experiences of student participants from Myanmar who are studying their higher education at different university campuses in the upper Myanmar. The responses given by these participants were made to the question: ‘Can you tell me a bit about what university life has been like for you?’ On the basis of their responses, a thematic analysis was conducted that explored how these participants experienced alienation specific to their setting arising from:<strong>1) <em>Loneliness </em>because of:</strong>a. isolation from peer groups; andb. a lack of pre-existing friendship groups at university;<strong>2) <em>Feeling out of place </em>because of:</strong>a. demographic differences from peers,b. residing at a great geographic distance from campus; andc. negative self-concepts in relation to others at university;<strong>These <em>experiences</em> engendered different (3) <em>coping strategies </em>involving:</strong>a. exiting the institution;b. adapting to their experiences of it; orc. hoping that a change in the future will bring better experiences.These themes and sub-themes are related to other works on alienation in higher education. Finally, this research offers a brief consideration of the limitations of the approach taken here, as well as some implications of the findings for higher education providers and stakeholders.</p> Ni NiHlaing Copyright (c) 2022 วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ 2022-03-19 2022-03-19 9 1 การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง การหาร ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค STAD https://so03.tci-thaijo.org/index.php/bru_graduate/article/view/256830 <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง การหาร ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค STAD ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน และระหว่างหลังเรียนเทียบกับเกณฑ์ร้อยละ 70 รวมทั้งศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค STAD กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ ที่เรียนในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง การหาร ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค STAD แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และแบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค STAD สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที (t-test)</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง การหาร ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค STAD หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 3) นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค STAD อยู่ในระดับมาก</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp;</p> เกษสุดา บูรณพันศักดิ์ กัญญาณัฐ ลือมอญ Copyright (c) 2022 วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ 2022-03-19 2022-03-19 9 1 ปัญหาความไม่ชัดเจนของกฎหมายขายฝาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/bru_graduate/article/view/256831 <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเป็นมาและปัญหาความไม่ชัดเจนของกฎหมายขายฝาก โดยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ประกอบด้วยการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องซึ่งเป็นการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลที่เป็นเอกสารที่เกี่ยวข้องกับปัญหาความไม่ชัดเจนของกฎหมายขายฝาก พบว่ายังมีปัญหาด้านบุคคลที่ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายขายฝากปัญหาด้านการกำหนดระยะเวลาในการไถ่ทรัพย์สินที่ขายฝากปัญหาด้านการกำหนดสินไถ่ปัญหาด้านการใช้สิทธิไถ่ทรัพย์สินขายฝากก่อนครบกำหนดไถ่และปัญหาด้านสิทธิที่จะได้รับประโยชน์จากทรัพย์ที่ขายฝาก</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp;</p> นพดล ธีระวงศ์ภิญโญ Copyright (c) 2022 วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ 2022-03-19 2022-03-19 9 1 Patterns of ICT (Information and Communication Technology) Used by Myanmar EFL Teachers https://so03.tci-thaijo.org/index.php/bru_graduate/article/view/257444 <p><strong>Abstract</strong></p> <p>This research reports the results of the study aiming at exploring the patterns of ICT (Information and Communication Technology) used by Myanmar EFL teachers and the factors affecting ICT integration in MyanmarUniversities. A sample of 147 teachers is approached for the purpose of conducting the quantitative through distributing a questionnaire and 33 for qualitative phase of this research through interview survey. Questionnaire including items on demographic information, ICT use at home and University is used in this study. The results reveal a limited use of most ICT applications among teachers at universityhome and University. It is also revealed that though most teachers use computers at home and University nowadays, applications are used by them on a daily or weekly basis, with the rest being limited to monthly, yearly, or rarely used categories. The purposes affecting ICT integration for Myanmar EFL teachers at home and at university were found mostly in the use of social factors, new information, preparation for the teaching and other professional development.</p> Yee Mon Cho Rita Thapa Copyright (c) 2022 วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ 2022-03-19 2022-03-19 9 1 Thai-Myanmar Friendship and Trust in the 21stCentury https://so03.tci-thaijo.org/index.php/bru_graduate/article/view/256795 <p>As two Buddhist-majority nations sharing a long, common border, Thailand and Myanmar will serve as twin pillars for peace and stability in mainland Southeast Asia in the future. Myanmar–Thailand relations&nbsp;refers to the&nbsp;<a href="https://en.wikipedia.org/wiki/Bilateralism">current and historical relations</a>between&nbsp;<a href="https://en.wikipedia.org/wiki/Myanmar">Myanmar</a>&nbsp;(also known as Burma) and <a href="https://en.wikipedia.org/wiki/Thailand">Thailand</a>. Myanmar has an embassy in <a href="https://en.wikipedia.org/wiki/Bangkok">Bangkok</a>. Thailand has an embassy in&nbsp;<a href="https://en.wikipedia.org/wiki/Yangon">Yangon</a>.&nbsp;Relations between Burma and&nbsp;<a href="https://en.wikipedia.org/wiki/Thailand">Thailand</a>focus mainly on economic integration and trade.&nbsp;For the first time since Myanmar regained its independence, its bilateral ties with Thailand have achieved aunique level of normalcy. As members of ASEAN and several sub-regional organizations, bilateral and collective co-operation in all areas will be further strengthened. With the expansion of cross-border connectivity that links up with regional networks, including the East-West corridor, Myanmar’s economic growth and integration with the region has been accelerate. As Thai-Myanmar relations become more dynamic, they have become mainland Southeast Asia’s most important strategic partners in ASEAN and beyond.</p> Dr. Than Than Win Professor Jasmine Kong-Yan Tang Copyright (c) 2022 วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ 2022-03-19 2022-03-19 9 1 Effectiveness of Project-Based Learning in ImprovingStudents’ Digital Literacy https://so03.tci-thaijo.org/index.php/bru_graduate/article/view/256799 <p class="Default" style="text-align: justify; text-indent: 53.85pt; tab-stops: 450.0pt;"><span style="color: windowtext;">Digital literacy means&nbsp;having the skills we need to live, learn, and work in a society&nbsp;where communication and access to information is increasingly through digital technologies like internet platforms, social media, and mobile devices. Communication is also a key aspect of digital literacy. This research introduces a term-long project that draws on students’ digital literacy strengths while providing them with opportunities to hone their less developed</span>digital literacy skills. The d<span style="color: windowtext;">esign of the project was informed by the principles of project-based learning (PBL). To investigate the effectiveness of this project in improving participants’ skills, the researchers administered a survey to 113 participants in two sections of a course at MyanmarUniversity. The participants indicated that they perceived improvement in their study skills and technology skillsdue to their completion of the project. While the methods used in this project limit its generalizability, it contributes to the limited amount of research available on PBL in the Myanmar context.</span></p> Khin Thet Thet Aung Jasmine Tang Copyright (c) 2022 วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ 2022-03-19 2022-03-19 9 1 การพัฒนานักออกแบบลายมัดหมี่ในชุมชน https://so03.tci-thaijo.org/index.php/bru_graduate/article/view/259292 <p>การออกแบบเป็นหนึ่งในหลักการจัดองค์ประกอบศิลป์และนำเสนอความคิดสร้างสรรค์ให้มีความสัมพันธ์กันผ่านกระบวนการเรียนรู้ แต่การทอผ้าเป็นเสมือนการถ่ายทอดองค์ความรู้ผ่านกระบวนการสร้างสรรค์จากภูมิปัญญา ช่างที่มีความชำนาญในการผลิตผ้ามัดหมี่ทอมือ ยังขาดองค์ความรู้ด้านการออกแบบลวดลายผ้าอย่างเป็นระบบ การพัฒนานักออกแบบลายผ้ามัดหมี่ในชุมชนจึงจำเป็นต้องสร้างหลักสูตรเพื่อผลิตนักออกแบบผ่านการเรียนรู้ขั้นตอนการออกแบบลายผ้ามัดหมี่อย่างง่าย สามารถปฏิบัติได้จริงในเวลาจำกัด โดยอาศัยแม่ลายจากผืนผ้ามัดหมี่เป็นแม่ลายต้นแบบ ผลการทดลองใช้หลักสูตรกับกลุ่มทอผ้าของตำบลสายตะกู อำเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์ จำนวน 30 คน พบว่า ร้อยละ 100 สามารถออกแบบลายมัดหมี่ลวดลายใหม่ได้ด้วยตนเอง และสามารถขยายผลไปยังกลุ่มทอผ้าของตำบลวังเหนือ อำเภอบ้านค่าย, ตำบล กระสัง อำเภอเมือง และตำบลบ้านคู อำเภอนาโพธิ์ จังหวัดบุรีรัมย์ จำนวน 80 คน พบว่า ร้อยละ 100 สามารถออกแบบลายมัดหมี่ลวดลายใหม่ได้ด้วยตัวเองเช่นกัน โดยได้ผลงานเชิงประจักษ์เพื่อการทอเป็นผืนผ้ามัดหมี่จริง ไม่น้อยกว่า 5 ลาย ต่อตำบล</p> สมบัติ ประจญศานต์ Copyright (c) 2022 2022-02-11 2022-02-11 9 1 ความพึงพอใจของเกษตรกรต่อรูปแบบการเลี้ยงปลาดุกอินทรีย์ในกระชังบกกรณีศึกษา อำเภอคูเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ https://so03.tci-thaijo.org/index.php/bru_graduate/article/view/257446 <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ความพึงพอใจของเกษตรกรต่อรูปแบบการเลี้ยงปลาดุกอินทรีย์ในกระชังบก ในอำเภอคูเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ โดยทำการสำรวจแบบสอบถามกับเกษตรกรต้นแบบการเลี้ยงปลาดุกอินทรีย์ในกระชังบกช่วงเดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2564จำนวน 30 คน พบว่า เกษตรกรต้นแบบส่วนใหญ่มีทั้งเพศชาย และเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 50 อายุเกษตรกรต้นแบบส่วนใหญ่อยู่ในช่วงอายุ &nbsp;41 – 50 ปี คิดเป็นร้อยละ 46.7 มีความพึงพอใจโดยภาพรวมเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด (=4.50, S.D. = 0.45) และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ความพึงพอใจที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ ด้านคุณภาพของการจัดกิจกรรม (=4.58, S.D. = 0.47) รองลงมาคือ ด้านสิ่งอำนวยความสะดวก (=4.56, S.D. = 0.52) ด้านคณะทำงาน (=4.48, S.D. = 0.60) และด้านกระบวนการขั้นตอน ในการจัดกิจกรรม (=4.44, S.D. = 0.50) ตามลำดับการศึกษาในครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าการเลี้ยงปลาดุกอินทรีย์ในกระชังบกเป็นที่พึงพอใจอย่างมากของเกษตรต้นแบบในอำเภอคูเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ และสามารถเลี้ยงเป็นอาชีพเสริมหรือเป็นอาชีพหลักทางการเกษตรด้านการประมงเพื่อเพิ่มอาหารในครัวเรือนและในชุมชน ทำให้ให้เกิดความมั่นคงทางอาหารและเกษตรในชุมชนอาจมีรายได้เพิ่มมากขึ้น</p> สายรุ้ง สอนสุภาพ Copyright (c) 2022 วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ 2022-03-19 2022-03-19 9 1 Information Seeking Behavior of University Students and their Knowledge about the Library Resources and Services https://so03.tci-thaijo.org/index.php/bru_graduate/article/view/257471 <p>This research has been undertaken to determine the university students’information seeking behavior and their knowledge about the library resources and services in Myanmar Higher Education Institutions. The study has tried to find out how the integration of the Internet has affected theinformation searching habit on students.Empirical data were collected on the information searching behavior of thestudents in Myanmar.Questionnaire method has been applied to collect primary data from the 200 fulltime students of which 113 have been returned which is the exact number ofquestionnaires tabulated for the study.After tabulating and analyzing the data the findings of the study indicated thatthe guidance in the use of library resources and services is necessary tohelp students meet some of the information requirements. It is also found that librarybooks, e-journals and Internet are the most popular source of information for thecourse work as well as research and the place of Google in the student’s informationbehavior is prominent.This study has also tried to point towards that aspect of the library where it could educate its users by giving orientation so they can become an accurate searcher and make use of the right information at the right time.</p> <p>&nbsp;</p> Khaing Zin Thant Chien-Kuo Li Copyright (c) 2022 วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ 2022-03-19 2022-03-19 9 1