วารสารระบบบริการปฐมภูมิและเวชศาสตร์ครอบครัว https://so03.tci-thaijo.org/index.php/PCFM <p style="color: #000000; font-family: &amp;quot; noto sans&amp;quot;,arial,helvetica,sans-serif; font-size: 14px; font-style: normal; font-variant: normal; font-weight: 400; letter-spacing: normal; orphans: 2; text-align: left; text-decoration: none; text-indent: 0px; text-transform: none; -webkit-text-stroke-width: 0px; white-space: normal; word-spacing: 0px;"><strong><span lang="TH"><span style="background-color: #ffffff;">Journal of Primary Care and Family Medicine (PCFM)</span></span></strong></p> <p style="color: #000000; font-family: &amp;quot; noto sans&amp;quot;,arial,helvetica,sans-serif; font-size: 14px; font-style: normal; font-variant: normal; font-weight: 400; letter-spacing: normal; orphans: 2; text-align: left; text-decoration: none; text-indent: 0px; text-transform: none; -webkit-text-stroke-width: 0px; white-space: normal; word-spacing: 0px;"><strong><span lang="TH"><span style="background-color: #ffffff;">วารสารระบบบริการปฐมภูมิและเวชศาสตร์ครอบครัว</span></span></strong></p> <p style="color: #000000; font-family: &amp;quot; noto sans&amp;quot;,arial,helvetica,sans-serif; font-size: 14px; font-style: normal; font-variant: normal; font-weight: 400; letter-spacing: normal; orphans: 2; text-align: left; text-decoration: none; text-indent: 0px; text-transform: none; -webkit-text-stroke-width: 0px; white-space: normal; word-spacing: 0px;"><span lang="TH">วารสารเพื่อรวบรวมความรู้ทางวิชาการ และงานวิจัยต่าง ๆ&nbsp;&nbsp;รวมถึงเป็นสื่อกลางในการสื่อสารระหว่างเครือข่าย นำไปสู่การพัฒนาทั้งในด้านคุณภาพการบริการและวิชาการ&nbsp;&nbsp;รวมทั้งเป็นการเสริมสร้างคุณค่าและเอกลักษณ์ของบริการปฐมภูมิและเวชศาสตร์ครอบครัวต่อบุคลากรสาธารณสุข</span>&nbsp;</p> <p style="color: #000000; font-family: &amp;quot; noto sans&amp;quot;,arial,helvetica,sans-serif; font-size: 14px; font-style: normal; font-variant: normal; font-weight: 400; letter-spacing: normal; orphans: 2; text-align: left; text-decoration: none; text-indent: 0px; text-transform: none; -webkit-text-stroke-width: 0px; white-space: normal; word-spacing: 0px;"><span lang="TH">และเผยแพร่ผลงานวิชาการและงานวิจัยทางด้านเวชศาสตร์ครอบครัวและการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ เป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างเครือข่ายและองค์กรที่ปฏิบัติงานทางด้านเวชศาสตร์ครอบครัวและการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ กระตุ้นให้เกิดการพัฒนาองค์ความรู้และงานวิจัยงานวิชาการทางด้านเวชศาสตร์ครอบครัว และระบบริการปฐมภูมิ</span></p> Royal College of Family Physicians of Thailand and GP/FP Association of Thailand th-TH วารสารระบบบริการปฐมภูมิและเวชศาสตร์ครอบครัว 2651-0553 <p>เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสาร PCFM ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่งกองบรรณาธิการวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยหรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ</p> <p>บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ลงในวารสาร PCFM ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสาร PCFM หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสาร PCFM ก่อนเท่านั้น</p> จากประวัติศาสตร์ สู่ อนาคตแพทย์เวชศาสตร์รุ่นใหม่ https://so03.tci-thaijo.org/index.php/PCFM/article/view/284504 <p>แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวในประเทศไทยเริ่มต้นจากความพยายามในการสร้างระบบการดูแลสุขภาพที่สามารถเข้าถึงประชาชนได้อย่างทั่วถึง ระบบนี้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องเพื่อรองรับความต้องการที่เปลี่ยนแปลงไปของสังคมและประชากร &nbsp;25 ปี ที่ผ่านมาการพัฒนาแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวเป็นนโยบายสำคัญของประเทศไทย โดยมุ่งเน้นการให้บริการสุขภาพที่ครอบคลุมและเข้าถึงง่าย พัฒนาศักยภาพของหน่วยบริการและศูนย์บริการสุขภาพชุมชนมากขึ้น&nbsp; เพิ่มจำนวนและพัฒนาบุคลากรสำหรับบริการปฐมภูมิ โดยเฉพาะแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวเพื่อให้บริการในระดับท้องถิ่น เพื่อความเข้มแข็งของระบบบริการปฐมภูมิในอนาคต</p> สตางค์ ศุภผล Copyright (c) 2024 วารสารระบบบริการปฐมภูมิและเวชศาสตร์ครอบครัว http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 2024-12-26 2024-12-26 7 4 284 285 การจัดฝึกอบรมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเวชศาสตร์ครอบครัวให้สอดคล้องกับระบบสุขภาพและชุมชน: บูรณาการโครงการชุมชนและข้อเสนอเพื่อพัฒนาการฝึกอบรม https://so03.tci-thaijo.org/index.php/PCFM/article/view/282023 <p class="AbstractThai2022"><span lang="TH">คุณสมบัติสำคัญของแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวคือทำงานให้สอดคล้องกับระบบสุขภาพและชุมชนที่รับผิดชอบ เนื่องจากแผนการฝึกอบรมผู้เชี่ยวชาญเวชศาสตร์ครอบครัวมีทั้งที่เป็นหลักสูตรที่ใช้โรงพยาบาลเป็นฐาน และใช้ชุมชนเป็นฐาน มีการจัดการเรียนบางส่วนต่างกัน อีกทั้งแพทย์ต้องทำโครงการชุมชน เพื่อนำทักษะการจัดการชุมชนมาใช้ในการแก้ไขปัญหา จึงต้องการศึกษาแนวทางการจัดการฝึกอบรมด้านการทำเวชปฏิบัติให้สอดคล้องกับระบบสุขภาพและการทำงานโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน รวมถึงศึกษารูปแบบการทำโครงการชุมชนของแพทย์ประจำบ้านเวชศาสตร์ครอบครัวที่อยู่ในระหว่างการฝึกอบรม พบว่าความเข้าใจและแนวทางการจัดการเรียนการสอนด้านนี้มีความแตกต่างกันตามบริบทของแต่ละสถาบัน ส่งผลให้ผู้เรียนได้ความรู้และทักษะที่แตกต่างกันมาก จึงควรมีการสนับสนุนด้านวิชาการจากราชวิทยาลัยแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวแห่งประเทศไทย กำหนดแนวทางการจัดการเรียนการสอน การประเมินผลที่ชัดเจนขึ้น และสนับสนุนงบประมาณการจัดฝึกอบรมเพื่อความยั่งยืนในการผลิตและพัฒนาแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวให้มีคุณสมบัติเหมาะสมกับความต้องการของประเทศ และช่วยพัฒนาระบบสุขภาพไทยให้ดียิ่งขึ้น</span></p> <p class="AbstractThai2022"><span class="Abstractbold"><span lang="TH">คำสำคัญ: </span></span><span lang="TH">การฝึกอบรมแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว ระบบสุขภาพ ชุมชนเป็นฐาน</span></p> สุภัค สงวนทรัพย์ Copyright (c) 2024 วารสารระบบบริการปฐมภูมิและเวชศาสตร์ครอบครัว http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 2024-12-26 2024-12-26 7 4 286 295 มุมมองต่อบทบาทการทำงานของแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว ของผู้มีส่วนร่วมในระบบสุขภาพปฐมภูมิ https://so03.tci-thaijo.org/index.php/PCFM/article/view/282014 <p class="AbstractThai2022"><span lang="TH">แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวเป็นสาขาวิชาชีพเฉพาะทางสาขาหนึ่งที่มีความสำคัญในการขับเคลื่อนระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิ ในฐานะ “หมอประจำตัว” ของประชาชน แต่การเลือกเข้าศึกษาต่อในสาขาแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวยังมีข้อจำกัด และการทำงานในบริบทพื้นที่ยังมีความท้าทายสูง จึงมีการศึกษาเกี่ยวกับมุมมองของสหวิชาชีพซึ่งเป็นผู้มีส่วนร่วมในระบบสุขภาพปฐมภูมิต่อการดำเนินงานของแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวในระยะเวลาที่ผ่านมา เพื่อช่วยสะท้อนบทบาทของแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว และนำไปสู่การวางแผนเชิงนโยบายในการผลิตแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวในประเทศไทยต่อไป</span></p> <p class="AbstractThai2022"><span lang="TH">จากการศึกษาภาคตัดขวางโดยวิเคราะห์จากฐานข้อมูลของราชวิทยาลัยแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวในการประเมินมุมมองต่อบทบาทการทำงานของแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวของผู้มีส่วนร่วมในระบบสุขภาพปฐมภูมิ ที่มีประสบการณ์การทำงานร่วมกับหรือรู้จักการทำงานของแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว มาแล้วไม่น้อยกว่า</span><span lang="EN-GB"> 2 </span><span lang="TH">ปี ซึ่งดำเนินการสำรวจระหว่างวันที่</span><span lang="EN-GB"> 20 </span><span lang="TH">เมษายน พ.ศ. </span><span lang="EN-GB">2567 </span><span lang="TH">ถึง</span><span lang="EN-GB"> 20 </span><span lang="TH">สิงหาคม พ.ศ. </span><span lang="EN-GB">2567 </span><span lang="TH">ทางแบบสอบถามอิเล็กทรอนิกส์ผ่านตัวแทนเขตสุขภาพ</span><span lang="EN-GB"> 12 </span><span lang="TH">เขตทั่วประเทศ พบว่ามีผู้ตอบแบบสอบถาม</span><span lang="EN-GB"> 275 </span><span lang="TH">คน ส่วนใหญ่เห็นด้วยว่าแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวเป็นแพทย์เฉพาะทางสาขาหนึ่ง ที่ต้องมีการฝึกอบรม มีความสำคัญต่อระบบสุขภาพ และเป็นที่ยอมรับในระบบการแพทย์ของประเทศไทย และเห็นด้วยมากต่อบทบาทของแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวในการให้บริการสุขภาพปฐมภูมิ สร้างผลลัพธ์ในเชิงประจักษ์ให้กับระบบสุขภาพ ทั้งการเพิ่มศักยภาพการบริการเฉพาะด้านในโรงพยาบาล ช่วยให้เกิดการทำงานร่วมกันระหว่างสหวิชาชีพ ลดภาระงานของโรงพยาบาลระดับทุติยภูมิและตติยภูมิ ทั้งยังสร้างคุณค่า และพัฒนาศักยภาพให้กับบริการปฐมภูมิ</span></p> <p class="AbstractThai2022"><span lang="TH">อย่างไรก็ตาม เมื่อพิจารณาในมุมของแพทย์ด้วยกัน เห็นว่าแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวเป็นที่ยอมรับในระบบการแพทย์ของประเทศไทยน้อยกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับมุมมองจากกลุ่มที่ไม่ใช่แพทย์ และผู้ที่เป็นผู้บริหารและเป็นแพทย์เห็นว่าระบบสาธารณสุขไทยสนับสนุนการทำงานของแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวให้ทำงานเต็มศักยภาพในระดับที่น้อยกว่าเมื่อเทียบกับมุมมองจากผู้ที่ไม่ได้เป็นผู้บริหารและไม่ได้เป็นแพทย์</span></p> <p class="AbstractThai2022"><span lang="TH">ในมุมมองของผู้มีส่วนร่วมในระบบสุขภาพปฐมภูมิ แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวมีบทบาทในการพัฒนา และการให้บริการสุขภาพปฐมภูมิ ช่วยให้เกิดผลลัพธ์ที่ดี ทั้งต่อผู้ป่วย ต่อระบบบริการสุขภาพทั้งสามระดับ จึงควรมีการสนับสนุนนโยบายการเพิ่มการผลิตแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวตามพรบ.ระบบสุขภาพปฐมภูมิอย่างมีประสิทธิภาพ และสนับสนุนให้มีการสร้างการยอมรับในวงกว้างและการสร้างระบบสนับสนุนเพื่อให้แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวสามารถปฏิบัติงานได้เต็มศักยภาพในระบบบริการปฐมภูมิ</span></p> <p class="AbstractThai2022"><span class="Abstractbold"><span lang="TH">คำสำคัญ: </span></span><span lang="TH">แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว ผู้มีส่วนร่วม ระบบสุขภาพปฐมภูมิ การรับรู้</span></p> หทัยทิพย์ ธรรมวิริยะกุล พลอย พงษ์วิทยภานุ Copyright (c) 2024 วารสารระบบบริการปฐมภูมิและเวชศาสตร์ครอบครัว http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 2024-12-26 2024-12-26 7 4 296 304 ผลการควบคุมระดับความดันโลหิตของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ที่ควบคุมโรคได้ดีที่รับยาร้านยาคุณภาพเทียบกับการรับยาที่หน่วยบริการปฐมภูมิวัดหนองแวง https://so03.tci-thaijo.org/index.php/PCFM/article/view/266768 <p class="AbstractThai2022"><span class="Abstractbold"><span lang="TH">ที่มา:</span></span> <span lang="TH">โรคความดันโลหิตสูงมีความชุกเพิ่มขึ้นและเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดโรคแทรกซ้อน ด้วยโรคระบาดโควิด-</span><span lang="EN-GB">19 </span><span lang="TH">ก่อให้เกิดปัญหาการเข้าถึงบริการ การดูแลตนเองและควบคุมโรค และระบบบริการ จึงพัฒนารูปแบบการรับยาที่ร้านยาคุณภาพสำหรับกลุ่มที่ควบคุมโรคความดันโลหิตสูงได้ดี และศึกษาเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงของระดับความดันโลหิตของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมโรคได้ดีที่รับยาร้านยาคุณภาพและรับยาที่หน่วยบริการปฐมภูมิวัดหนองแวง</span></p> <p class="AbstractThai2022"><span class="Abstractbold"><span lang="TH">รูปแบบวิจัย:</span></span><span lang="EN-GB"> Retrospective cohort study</span></p> <p class="AbstractThai2022"><span class="Abstractbold"><span lang="TH">วัสดุและวิธีการ:</span></span><span lang="TH"> ศึกษาข้อมูลย้อนหลังจากฐานข้อมูล</span><span lang="EN-GB"> JHCIS </span><span lang="TH">ของหน่วยบริการปฐมภูมิวัดหนองแวง โดยคัดเลือกผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมโรคได้ดี (</span><span lang="EN-GB">BP&lt;140</span><span lang="TH">/</span><span lang="EN-GB">90 </span><span lang="TH">มม.ปรอท) ที่รับยาที่ร้านยาคุณภาพและรับยาที่หน่วยบริการปฐมภูมิวัดหนองแวง เป็นระยะเวลา</span><span lang="EN-GB"> 1 </span><span lang="TH">ปี ตั้งแต่เดือนตุลาคม พ.ศ. </span><span lang="EN-GB">2564 </span><span lang="TH">ถึงเดือนธันวาคม พ.ศ. </span><span lang="EN-GB">2565</span></p> <p class="AbstractThai2022"><span class="Abstractbold"><span lang="TH">ผลการศึกษา:</span></span><span lang="TH"> ผู้เข้าร่วมวิจัยทั้งหมด</span><span lang="EN-GB"> 146 </span><span lang="TH">คน แบ่งเป็นสองกลุ่ม กลุ่มแรกคือกลุ่มที่รับยาร้านยาคุณภาพ และกลุ่มสองคือกลุ่มที่รับยาหน่วยบริการปฐมภูมิวัดหนองแวง กลุ่มละ</span><span lang="EN-GB"> 73 </span><span lang="TH">คน ข้อมูลพื้นฐานของผู้ป่วยสองกลุ่มส่วนใหญ่ไม่แตกต่างกัน หลังจากติดตาม</span><span lang="EN-GB"> 1 </span><span lang="TH">ปี พบว่า ผู้เข้าร่วมวิจัยที่รับยาร้านยาคุณภาพมีระดับความดันโลหิตบน (</span><span lang="EN-GB">SBP</span><span lang="TH">) ลดลงน้อยกว่ากลุ่มรับยาที่หน่วยบริการปฐมภูมิวัดหนองแวง</span><span lang="EN-GB"> 2</span><span lang="TH">.</span><span lang="EN-GB">02 </span><span lang="TH">มม.ปรอท (</span><span lang="EN-GB">95</span><span lang="TH">% </span><span lang="EN-GB">CI, </span><span lang="TH">-</span><span lang="EN-GB">2</span><span lang="TH">.</span><span lang="EN-GB">32 to 6</span><span lang="TH">.</span><span lang="EN-GB">37; p </span><span lang="TH">= </span><span lang="EN-GB">0</span><span lang="TH">.</span><span lang="EN-GB">358</span><span lang="TH">) และผู้เข้าร่วมวิจัยที่รับยาร้านยาคุณภาพมีระดับความดันโลหิตล่าง (</span><span lang="EN-GB">DBP</span><span lang="TH">) ลดลงมากกว่ากลุ่มรับยาที่หน่วยบริการปฐมภูมิวัดหนองแวง</span><span lang="EN-GB"> 0</span><span lang="TH">.</span><span lang="EN-GB">65 </span><span lang="TH">มม.ปรอท (</span><span lang="EN-GB">95</span><span lang="TH">% </span><span lang="EN-GB">CI, </span><span lang="TH">-</span><span lang="EN-GB">3</span><span lang="TH">.</span><span lang="EN-GB">86 to 2</span><span lang="TH">.</span><span lang="EN-GB">57; p </span><span lang="TH">= </span><span lang="EN-GB">0</span><span lang="TH">.</span><span lang="EN-GB">693</span><span lang="TH">)</span></p> <p class="AbstractThai2022"><span class="Abstractbold"><span lang="TH">สรุป:</span></span><span lang="TH"> ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมโรคได้ดีที่รับยาที่ร้านยาคุณภาพและรับยาที่หน่วยบริการปฐมภูมิวัดหนองแวงมีผลการเปลี่ยนแปลงของระดับความดันโลหิต ระดับน้ำตาลในเลือด การกรองของไต ระดับไขมันในเลือด และดัชนีมวลกายที่</span><span lang="EN-GB"> 1 </span><span lang="TH">ปี ไม่แตกต่างกัน ดังนั้นผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมโรคได้ดีสามารถรับยาร้านยาคุณภาพได้อย่างคงคุณภาพ</span></p> <p class="AbstractThai2022"><span class="Abstractbold"><span lang="TH">คำสำคัญ: </span></span><span lang="TH">โรคความดันโลหิตสูง ร้านยาคุณภาพ หน่วยบริการปฐมภูมิ</span></p> สิริลักขณา พระวงศ์ ศิวพร ประเสริฐสุข Copyright (c) 2024 วารสารระบบบริการปฐมภูมิและเวชศาสตร์ครอบครัว http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 2024-12-26 2024-12-26 7 4 305 315 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความปวดลดยากในผู้ป่วยระยะท้ายช่วง 48 ชั่วโมงแรกของการรับปรึกษาประคับประคอง https://so03.tci-thaijo.org/index.php/PCFM/article/view/272027 <p class="AbstractThai2022"><span class="Abstractbold"><span lang="TH">ที่มา:</span></span> <span lang="TH">ความปวดเป็นอาการที่ทำให้ผู้ป่วยระยะท้ายไม่สุขสบาย หากปล่อยไว้นานอาจทำให้ความปวดจัดการได้ยาก ทีมประคับประคองจึงมุ่งเน้นการลดความปวดใน</span><span lang="EN-GB"> 48 </span><span lang="TH">ชั่วโมงแรกหลังรับปรึกษา อย่างไรก็ตามผู้ป่วยบางรายลดปวดยาก ผู้วิจัยจึงต้องการศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความปวดลดยากในช่วงแรกของการรับปรึกษาประคับประคอง</span></p> <p class="AbstractThai2022"><span class="AbstractBold0"><span lang="TH" style="color: #3880bc;">แบบวิจัย:</span></span><span lang="TH"> การศึกษาจากเหตุไปหาผลแบบย้อนหลัง</span></p> <p class="AbstractThai2022"><span class="Abstractbold"><span lang="TH">วัสดุและวิธีการ:</span></span><span lang="TH"> ผู้ป่วยประคับประคองที่มีความปวดปานกลางขึ้นไปจะถูกนำเข้าการศึกษา หลังคัดผู้ที่ไม่สามารถประเมินความปวดด้วยตนเองออกแล้ว จึงทบทวนข้อมูลพื้นฐาน การรักษาความปวด และคะแนนปวดใน</span><span lang="EN-GB"> 48 </span><span lang="TH">ชั่วโมง ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความปวดลดยากใช้วิธีวิเคราะห์แบบถดถอยโลจิสติก</span></p> <p class="AbstractThai2022"><span class="Abstractbold"><span lang="TH">ผลการศึกษา:</span></span><span lang="TH"> ผู้ป่วยประคับประคอง</span><span lang="EN-GB"> 997 </span><span lang="TH">คน ร้อยละ</span><span lang="EN-GB"> 11</span><span lang="TH">.</span><span lang="EN-GB">03 </span><span lang="TH">มีความปวดลดยาก พบปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ อายุ การกลืนลำบาก อาการต่อไปนี้ที่มีระดับรุนแรง ได้แก่ คลื่นไส้ ซึมเศร้า วิตกกังวล ง่วงซึม เบื่ออาหาร และไม่สบายกายและใจ ส่วนปัจจัยที่เกี่ยวข้องโดยตรงได้แก่ อายุ การกลืนลำบาก และซึมเศร้ารุนแรง (</span><span lang="EN-GB">OR 0</span><span lang="TH">.</span><span lang="EN-GB">98, 95</span><span lang="TH">%</span><span lang="EN-GB">CI 0</span><span lang="TH">.</span><span lang="EN-GB">97</span><span lang="TH">-</span><span lang="EN-GB">0</span><span lang="TH">.</span><span lang="EN-GB">99, p</span><span lang="TH">-</span><span lang="EN-GB">value 0</span><span lang="TH">.</span><span lang="EN-GB">007, OR 1</span><span lang="TH">.</span><span lang="EN-GB">83, 95</span><span lang="TH">%</span><span lang="EN-GB">CI 1</span><span lang="TH">.</span><span lang="EN-GB">03</span><span lang="TH">-</span><span lang="EN-GB">3</span><span lang="TH">.</span><span lang="EN-GB">27, p</span><span lang="TH">-</span><span lang="EN-GB">value 0</span><span lang="TH">.</span><span lang="EN-GB">040, </span><span lang="TH">และ</span><span lang="EN-GB"> OR 1</span><span lang="TH">.</span><span lang="EN-GB">73, 95</span><span lang="TH">%</span><span lang="EN-GB">CI 1</span><span lang="TH">.</span><span lang="EN-GB">04</span><span lang="TH">-</span><span lang="EN-GB">2</span><span lang="TH">.</span><span lang="EN-GB">89, p</span><span lang="TH">-</span><span lang="EN-GB">value 0</span><span lang="TH">.</span><span lang="EN-GB">035 </span><span lang="TH">ตามลำดับ)</span></p> <p class="AbstractThai2022"><span class="Abstractbold"><span lang="TH">สรุป:</span></span><span lang="TH"> อายุ การกลืนลำบาก และซึมเศร้ารุนแรง เป็นปัจจัยที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับความปวดลดยากในผู้ป่วยประคับประคอง จึงควรมีการจัดการภาวะซึมเศร้าอย่างเหมาะสมควบคู่การจัดการความปวดเพื่อช่วยให้ผลลัพธ์ดีขึ้น</span></p> <p class="AbstractThai2022"><span class="Abstractbold"><span lang="TH">คำสำคัญ: </span></span><span lang="TH">ปัจจัย ความปวดลดยาก ประคับประคอง ผู้ป่วยระยะท้าย</span></p> ฟ้างาม เจริญผล พนารัตน์ รัตนสุวรรณ ศรีเวียง ไพโรจน์กุล อรรถกร รักษาสัตย์ กาพย์ชวิน บุญเดช แพงพรรณ ศรีบุญลือ Copyright (c) 2024 วารสารระบบบริการปฐมภูมิและเวชศาสตร์ครอบครัว http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 2024-12-26 2024-12-26 7 4 316 322 โครงการสร้างเสริมสุขภาพทางการได้ยินและพฤติกรรมการฟังอย่างปลอดภัย ในเด็กประถมจังหวัดเชียงใหม่ (การศึกษานำร่อง) https://so03.tci-thaijo.org/index.php/PCFM/article/view/270077 <p>ที่มา: การสร้างเสริมสุขภาพทางการได้ยินและพฤติกรรมการฟังอย่างปลอดภัย จะสร้างความตระหนักของการป้องกันการสูญเสียการได้ยิน ทำให้มีการปรับพฤติกรรมการฟังที่มีผลต่อการได้ยิน และลดอุบัติการณ์ของการสูญเสียการได้ยินจากเสียงดังได้ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาพฤติกรรมการฟังของนักเรียน 2) ออกแบบโครงการสร้างเสริมสุขภาพการฟังอย่างปลอดภัยในนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาตอนต้น โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 3) ศึกษาประสิทธิภาพของโครงการนำร่องดังกล่าว</p> <p>วัสดุและวิธีการ: โครงการนี้ศึกษาพฤติกรรมการฟังของนักเรียนแบบ observational study และการศึกษาประสิทธิภาพของโครงการแบบ experimental study ในโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ โดยจัดกิจกรรมสร้างสื่อประชาสัมพันธ์เพื่อรณรงค์โครงการ และกิจกรรมการให้ความรู้ใน 3 หัวข้อ คือ 1) กายวิภาคของหู 2) ระดับเสียงในสิ่งแวดล้อม และการสูญเสียการได้ยินจากเสียงดังและ 3) การป้องกันอันตรายจากเสียงดัง ใช้แบบประเมินความรู้ก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการ และพฤติกรรมการฟัง</p> <p>ผลการศึกษา: ผู้เข้าโครงการ เป็นผู้ปกครอง 228 ราย และเป็นนักเรียน 200 ราย ผู้ปกครองร้อยละ 28.6 มีความกังวลในระดับมากถึงมากที่สุดว่าบุตรหลานอาจสูญเสียการได้ยินจากการฟังเสียงดัง ร้อยละ 63.0 ไม่เคยให้บุตรหลานอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่มีเสียงดัง และร้อยละ 59.6 ไม่เคยให้บุตรหลานใช้อุปกรณ์ป้องกันเสียงเมื่อต้องอยู่ในที่เสียงดัง นักเรียนร้อยละ 19.5 คิดว่าตนเองได้ยินไม่ชัด ร้อยละ 50.0 ไม่แน่ใจว่าตนเองได้ยินชัดหรือไม่ และร้อยละ 30.0 ไม่อยากใช้ที่อุดหูหากต้องอยู่ในที่เสียงดัง ๆ ร้อยละ 30.0 คิดว่าเป็นไปไม่ได้เลยที่การฟังเสียงผ่านหูฟังจากอุปกรณ์ต่าง ๆ เป็นเวลานาน ๆ จะทำให้หูตึงได้ ค่าเฉลี่ยคะแนนความรู้ก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการของนักเรียนมีแนวโน้มสูงขึ้น แต่ไม่ต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ</p> <p>สรุป: โครงการสร้างเสริมสุขภาพทางการได้ยินและพฤติกรรมการฟังอย่างปลอดภัยมีความสำคัญต่อการป้องกันภาวะการสูญเสียการได้ยินจากเสียงดังจากเสียงดังในเด็ก ซึ่งโครงการดังกล่าวควรได้รับการศึกษาต่อไปได้ในระดับชุมชนที่มีประชากรใหญ่ขึ้น เพื่อให้เกิดความต่อเนื่องและมีผลในการดำเนินงานเชิงนโยบายระดับประเทศต่อไป </p> <p>คำสำคัญ: อุปกรณ์ส่วนบุคคลที่ใช้เพื่อการฟัง การฟังอย่างปลอดภัย การสูญเสียการได้ยินจากเสียงดัง การสร้างเสริมสุขภาพการได้ยิน</p> ณัชชา วิวัฒน์คุณูปการ สุวิชา แก้วศิริ ฐิตา ฉันทโชติ วีระวัฒน์ ฤทธิ์ศร ชม้ายมาศ ชินรัตน์ วลีรัตน์ ทาทะวงค์ ศรีทนต์ บุญญานุกูล Copyright (c) 2024 วารสารระบบบริการปฐมภูมิและเวชศาสตร์ครอบครัว http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 2024-12-26 2024-12-26 7 4 323 333 ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะเหนื่อยล้าของผู้ดูแลผู้ป่วยสูงอายุกระดูกข้อสะโพกหัก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/PCFM/article/view/271251 <p><strong>ที่มา:</strong> กระดูกข้อสะโพกหักในผู้สูงอายุเป็นภาวะที่พบได้มากขึ้นในเวชปฏิบัติ ภาวะเหนื่อยล้าของผู้ดูแล (caregiver burden) เกิดได้และเพิ่มความเสี่ยงที่ผู้ป่วยจะถูกทอดทิ้งหรือถูกทำร้าย การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อภาวะเหนื่อยล้าของผู้ดูแลจะทำให้แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวร่วมกับ สหวิชาชีพดูแลผู้ป่วยได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น</p> <p><strong>แบบวิจัย: </strong>งานวิจัยเชิงวิเคราะห์แบบภาคตัดขวาง ณ จุดเวลาใดเวลาหนึ่ง</p> <p><strong>วัสดุและวิธีการ:</strong> เก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างผู้ดูแลผู้ป่วยกระดูกข้อสะโพกหัก จำนวน 118 คน ด้วยแบบสอบถาม ประกอบด้วยข้อมูลพื้นฐานของผู้ป่วยและผู้ดูแล และคะแนนความเหนื่อยล้าของผู้ดูแล (Zarit burden interview) ฉบับภาษาไทย 22 ข้อ ประเมินผลด้วยสถิติการวิเคราะห์ตัวแปรเดี่ยว</p> <p><strong>ผลการศึกษา:</strong> ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะเหนื่อยล้าของผู้ดูแลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p &lt; 0.05) ได้แก่ ผู้ป่วยกลุ่มพึ่งพา คะแนนความปวดมากกว่า 3 จำนวนผู้ป่วยในความดูแลมากกว่า 1 คน ปัญหาด้านค่าใช้จ่าย และไม่มีสมาชิกในบ้านผลัดเวรดูแลผู้ป่วย</p> <p><strong>สรุป:</strong> ควรมีการพัฒนาเชิงระบบเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่อภาวะเหนื่อยล้าของผู้ดูแลผู้ป่วยสูงอายุกระดูกข้อสะโพกหัก เช่น รูปแบบการดูแลเพื่อลดภาวะพึ่งพา การเข้าถึงสวัสดิการสังคม เครือข่ายชุมชนเข้มแข็ง เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการดูแลผู้ป่วยอย่างเป็นองค์รวม</p> <p><strong>คำสำคัญ: </strong>ภาวะเหนื่อยล้าของผู้ดูแล ปัจจัย ครอบครัว กระดูกข้อสะโพกหัก</p> ณัฐนรี ฉันทวานิช Copyright (c) 2024 วารสารระบบบริการปฐมภูมิและเวชศาสตร์ครอบครัว http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 2024-12-26 2024-12-26 7 4 334 342 ผลของการใช้แอสไพรินเพื่อป้องกันการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดแบบปฐมภูมิ ในผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ที่โรงพยาบาลบางมูลนาก จังหวัดพิจิตร https://so03.tci-thaijo.org/index.php/PCFM/article/view/278582 <p>ที่มา: การให้แอสไพรินเพื่อการป้องกันปฐมภูมิต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ยังไม่มีข้อมูลที่ชัดเจนถึงประโยชน์และความปลอดภัย งานวิจัยนี้จึงศึกษาผลของการได้รับแอสไพรินเปรียบเทียบกับการไม่ได้รับแอสไพรินเพื่อการป้องกันปฐมภูมิต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 รวมทั้งผลข้างเคียงที่เกิดขึ้น</p> <p>แบบวิจัย: เป็นงานวิจัยเชิงการรักษา ที่ศึกษาจากเหตุไปหาผลแบบย้อนหลัง</p> <p>วัสดุและวิธีการ: รวบรวมข้อมูลผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ที่อายุ 40 ปีขึ้นไป และไม่มีประวัติเป็นโรคหัวใจและหลอดเลือดมาก่อน จากฐานข้อมูลเวชระเบียน ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2557 ถึง วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 โดยแบ่งเป็นกลุ่มที่ได้รับแอสไพรินและไม่ได้รับแอสไพริน ประเมินผลลัพธ์หลักจากอุบัติการณ์การเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดเป็นครั้งแรก ส่วนผลลัพธ์ด้านความปลอดภัยประเมินจากอุบัติการณ์การเกิดภาวะเลือดออกรุนแรงเป็นครั้งแรก ติดตามผลลัพธ์ต่าง ๆ จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2564</p> <p>ผลการศึกษา: ผู้ป่วยมีจำนวนทั้งหมด 682 คน ในช่วงค่ามัธยฐานของระยะเวลาการติดตามผลเท่ากับ 4.9 ปี พบว่าอุบัติการณ์การเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดเป็นครั้งแรกระหว่างกลุ่มที่ได้รับแอสไพรินและกลุ่มที่ไม่ได้รับแอสไพริน ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (adjusted hazard ratio, 0.93; 95% confidence interval, 0.51-1.71; p = 0.816) ในการวิเคราะห์กลุ่มย่อยพบว่าให้ผลในทิศทางเดียวกัน แต่พบภาวะเลือดออกเพิ่มขึ้นในกลุ่มที่ได้รับแอสไพริน โดยเฉพาะภาวะเลือดออกในทางเดินอาหาร (adjusted hazard ratio, 3.50; 95% CI, 1.47-8.34; p = 0.005)</p> <p>สรุป: การให้แอสไพรินในผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ไม่แสดงผลการป้องกันปฐมภูมิต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด แต่เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดเลือดออกในทางเดินอาหาร จึงควรมีการทบทวนแนวทางการใช้แอสไพรินเพื่อการป้องกันปฐมภูมิ</p> <p>คำสำคัญ: แอสไพริน โรคเบาหวาน การป้องกันปฐมภูมิ โรคหัวใจและหลอดเลือด</p> ณัฐพล พรรณเชษฐ์ Copyright (c) 2024 วารสารระบบบริการปฐมภูมิและเวชศาสตร์ครอบครัว http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 2024-12-26 2024-12-26 7 4 343 354 ความชุกและคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุที่มีอาการข้อเข่าเสื่อมที่มารับบริการที่หน่วยปฐมภูมิสามเหลี่ยม จังหวัดขอนแก่น https://so03.tci-thaijo.org/index.php/PCFM/article/view/259579 <p class="AbstractThai2022"><span class="Abstractbold"><span lang="TH">ที่มา:</span></span> <span lang="TH">โรคข้อเข่าเสื่อมเป็นโรคที่เป็นปัญหาสำคัญในปัจจุบัน แม้ว่าจะไม่ทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตแต่เป็นโรคที่รบกวนการใช้ชีวิตประจำวันและส่งผลต่อคุณภาพชีวิต เป็นโรคที่มักถูกละเลยการดูแลรักษาเพราะคิดว่าเป็นโรคที่เกิดจากความเสื่อมตามธรรมชาติ และยังไม่มีการคัดกรองข้อเข่าเสื่อมอย่างทั่วถึง ผู้วิจัยจึงมีความสนใจที่จะศึกษาความชุกและคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุที่มีอาการข้อเข่าเสื่อมที่มารับบริการที่หน่วยปฐมภูมิสามเหลี่ยม จังหวัดขอนแก่น เพื่อนำผลการศึกษาไปใช้ในการเฝ้าระวัง ค้นหาแนวทางการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุต่อไป </span></p> <p class="AbstractThai2022"><span lang="TH">แบบวิจัย : การศึกษาเชิงพรรณนาแบบภาคตัดขวาง (</span><span lang="EN-GB">cross</span><span lang="TH">-</span><span lang="EN-GB">sectional descriptive study</span><span lang="TH">)</span></p> <p class="AbstractThai2022"><span class="Abstractbold"><span lang="TH">วัสดุและวิธีการ:</span></span><span lang="TH"> คัดเลือกจากกลุ่มตัวอย่างผู้ที่อายุ</span><span lang="EN-GB"> 60 </span><span lang="TH">ปี ขึ้นไป ที่มารับบริการที่หน่วยปฐมภูมิสามเหลี่ยม จังหวัดขอนแก่น ในช่วงเดือน ตุลาคม ถึงเดือน พฤศจิกายน พ.ศ. </span><span lang="EN-GB">2564 </span><span lang="TH">จำนวน</span><span lang="EN-GB"> 280 </span><span lang="TH">ราย เครื่องมือที่ใช้คือแบบสอบถาม มีองค์ประกอบทั้งหมด</span><span lang="EN-GB"> 3 </span><span lang="TH">ส่วน คือ</span><span lang="EN-GB"> 1</span><span lang="TH">) ข้อมูลทั่วไปและความเสี่ยงด้านสุขภาพ</span><span lang="EN-GB"> 2</span><span lang="TH">) แบบประเมินความรุนแรงของโรคข้อเข่าเสื่อม (</span><span lang="EN-GB">Oxford Knee Score</span><span lang="TH">) </span><span lang="EN-GB">3</span><span lang="TH">) แบบสอบถามคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพ</span><span lang="EN-GB"> EQ</span><span lang="TH">-</span><span lang="EN-GB">5D</span><span lang="TH">-</span><span lang="EN-GB">5L </span><span lang="TH">วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่</span><span lang="EN-GB"> frequency, percentage, 95</span><span lang="TH">%</span><span lang="EN-GB">CI, mean </span><span lang="TH">(</span><span lang="EN-GB">standard deviation</span><span lang="TH">)</span><span lang="EN-GB">, Pearson chi square, odds ratio, multivariable logistic regression analysis</span></p> <p class="AbstractThai2022"><span class="Abstractbold"><span lang="TH">ผลการศึกษา:</span></span><span lang="TH"> พบความชุกของโรคข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุ เท่ากับร้อยละ</span><span lang="EN-GB"> 38</span><span lang="TH">.</span><span lang="EN-GB">6 </span><span lang="TH">(</span><span lang="EN-GB">95</span><span lang="TH">%</span><span lang="EN-GB">CI 32</span><span lang="TH">.</span><span lang="EN-GB">83</span><span lang="TH">-</span><span lang="EN-GB">44</span><span lang="TH">.</span><span lang="EN-GB">31</span><span lang="TH">) และคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพ พบว่ากลุ่มที่ไม่พบอาการผิดปกติของโรคข้อเข่าเสื่อมมีค่าเฉลี่ยอรรถประโยชน์และค่าเฉลี่ยสภาวะสุขภาพทางตรงสูงกว่ากลุ่มที่มีอาการข้อเข่าเสื่อมในระดับต่าง ๆ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อความเสี่ยงข้อเข่าเสื่อมในกลุ่มผู้สูงอายุอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ ปัจจัยด้านเพศ อายุ การมีโรคประจำตัว ประวัติการบาดเจ็บบริเวณข้อเข่า ประวัติโรคข้อเข่าเสื่อมในครอบครัวและการออกกำลังกายหรือบริหารข้อเข่า</span></p> <p class="AbstractThai2022"><span class="Abstractbold"><span lang="TH">สรุป:</span></span><span lang="TH"> อัตราความชุกของข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุพบได้</span><span lang="EN-GB"> 1 </span><span lang="TH">ใน</span><span lang="EN-GB"> 3 </span><span lang="TH">ของผู้ที่มารับบริการที่หน่วยปฐมภูมิสามเหลี่ยม จังหวัดขอนแก่น และคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพมีแนวโน้มลดลงตามระดับความรุนแรงของโรคข้อเข่าเสื่อมที่เพิ่มขึ้น ดังนั้นจึงควรให้ความสำคัญในการค้นหาแนวทางการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคข้อเข่าเสื่อมในกลุ่มผู้สูงอายุต่อไป</span></p> <p class="AbstractThai2022"><span class="Abstractbold"><span lang="TH">คำสำคัญ: </span></span><span lang="TH">โรคข้อเข่าเสื่อม ความชุก ผู้สูงอายุ คุณภาพชีวิต</span></p> กรกมล ทาบึงการ Copyright (c) 2024 วารสารระบบบริการปฐมภูมิและเวชศาสตร์ครอบครัว http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 2024-12-26 2024-12-26 7 4 355 368 ปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตและการทำนายคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยสูงอายุหลังผ่าตัดกระดูกข้อสะโพกหักโรงพยาบาลพระจอมเกล้า จังหวัดเพชรบุรี https://so03.tci-thaijo.org/index.php/PCFM/article/view/259713 <p><strong>ที่มา:</strong> เพื่อศึกษาคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยสูงอายุภายหลังผ่าตัดกระดูกข้อสะโพกหัก โรงพยาบาลพระจอมเกล้า จังหวัดเพชรบุรี ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยเสี่ยงกับคุณภาพชีวิตผู้ป่วย และทำนายคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยภายหลังผ่าตัดกระดูกข้อสะโพกหักได้</p> <p><strong>วิธีการศึกษา:</strong> การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนาแบบภาคตัดขวาง โดยใช้แบบสอบถาม กับผู้ป่วยหลังผ่าตัดกระดูกข้อสะโพกหัก 6-12 เดือน ที่โรงพยาบาลพระจอมเกล้า จังหวัดเพชรบุรี จำนวน 98 คน โดยคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยประเมินจากแบบสอบถาม EQ-5Q-5L นำเสนอข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา การวิเคราะห์ไค แสควร์ และการวิเคราะห์การถดถอย โลจิสติกทวิ</p> <p><strong>ผลการศึกษา:</strong> ปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยหลังผ่าตัดกระดูกสะโพกหักที่แย่ลง ได้แก่ การเดินลงน้ำหนักขาข้างที่ผ่าตัดไม่ได้ (OR 12.96, 95%CI 4.77-35.22), ภาวะทุพ-โภชนาการ (OR 14.23, 95%CI 3.71-54.65) และ ภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วย (OR 9.73 95%CI 2.49-38.03) โดยมีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p &lt; 0.05) โดยมีสองปัจจัยที่สามารถทำนายคุณภาพชีวิตได้ คือ ภาวะทุพโภชนาการ (adjusted OR = 6.04, 95%CI = 1.20-30.34) และการลงเดินน้ำหนักขาข้างที่ผ่าตัดไม่ได้ (adjusted OR = 10.10, 95%CI = 3.40-30.03) และ สามารถสร้างสมการถดถอยโลจิสติกในการทำนายคุณภาพชีวิตที่แย่ลงของผู้ป่วยหลังผ่าตัดได้ดังนี้ Log (odds) = -2.09 + 2.31 (การเดินลงน้ำหนักขาข้างที่ผ่าตัดไม่ได้) + 1.80 (ภาวะทุพโภชนาการ)</p> <p><strong>สรุป:</strong> ปัจจัยที่สัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตที่แย่ลงของผู้ป่วยสูงอายุหลังผ่าตัดกระดูกข้อสะโพกหัก ได้แก่ ภาวะทุพโภชนาการ การลงเดินน้ำหนักขาข้างที่ผ่าตัดไม่ได้ และภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วย โดยปัจจัยดังกล่าวควรได้รับการตรวจคัดกรองและดูแลในผู้ป่วยกระดูกสะโพกหัก ขณะนอนรักษาตัวภายหลังการผ่าตัดก่อนที่ผู้ป่วยจะกลับบ้าน เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงของคุณภาพชีวิตที่แย่ลงของผู้ป่วยได้</p> <p><strong>คำสำคัญ: </strong>ปัจจัยทำนาย คุณภาพชีวิต ผู้สูงอายุ กระดูกข้อสะโพกหัก</p> รหัส เลาหศรีสกุล Copyright (c) 2024 วารสารระบบบริการปฐมภูมิและเวชศาสตร์ครอบครัว http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 2024-12-26 2024-12-26 7 4 369 382 ความชุกและปัจจัยที่สัมพันธ์กับภาวะความรู้สึกเป็นภาระในผู้ดูแลเด็กสมาธิสั้นในโรงพยาบาลสงขลา https://so03.tci-thaijo.org/index.php/PCFM/article/view/259541 <p><strong>ที่มา:</strong> หาความชุกและปัจจัยที่สัมพันธ์กับภาวะความรู้สึกเป็นภาระในผู้ดูแลหลักของผู้ป่วยเด็กโรคสมาธิสั้นที่เข้ารับการรักษาในคลินิกจิตเวชโรงพยาบาลสงขลา</p> <p><strong>วัสดุและวิธีการ:</strong> เป็นการศึกษาวิจัยเชิงพรรณนาภาคตัดขวาง ทำการศึกษาในกลุ่มผู้ดูแลผู้ป่วยเด็กสมาธิสั้นจำนวน 114 ราย บันทึกข้อมูลผ่านแบบสอบถามข้อมูลทั่วไปของผู้ดูแล ข้อมูลทั่วไปของผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น และเครื่องชี้วัดภาระในการดูแลของผู้ดูแลผู้ป่วยเรื้อรังฉบับภาษาไทย วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติถดถอยโลจิสต์ติคหาปัจจัยที่สัมพันธ์กับภาวะความรู้สึกเป็นภาระ</p> <p><strong>ผลการศึกษา:</strong> พบภาวะความรู้สึกเป็นภาระในผู้ดูแลหลักของผู้ป่วยเด็กสมาธิสั้นร้อยละ 32.5 ปัจจัยที่สัมพันธ์ที่กับความรู้สึกเป็นภาระในการดูแลผู้ป่วยเด็กสมาธิสั้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ คือ ชนิดของโรคสมาธิสั้นตามอาการเด่นที่ผู้ป่วยมี ส่วนผู้ดูแลที่มีการศึกษาอยู่ในระดับสูง และการไม่มีเด็กคนอื่นที่ต้องการการดูแลเป็นพิเศษในครอบครัว (เช่น พิการ ปัญญาอ่อน เด็กพิเศษ เจ็บป่วยเรื้อรัง) สามารถลดความรู้สึกเป็นภาระของผู้ดูแล</p> <p><strong>สรุป: </strong>ความชุกของภาวะความรู้สึกเป็นภาระของผู้ดูแลหลักของผู้ป่วยเด็กสมาธิสั้นเท่ากับร้อยละ 32.5 และสัมพันธ์กับชนิดของโรคสมาธิสั้นตามอาการเด่นที่ผู้ป่วยมีโดยเฉพาะชนิดซนอยู่ไม่นิ่ง หุนหันพลันแล่น และชนิดผสม</p> <p><strong>คำสำคัญ: </strong>ความชุก ปัจจัย ภาวะความรู้สึกเป็นภาระของผู้ดูแล โรคสมาธิสั้น</p> อัญชิสา ราชศิริส่งศรี วัชรพงศ์ วีรกุล พัชรี พุทธชาติ Copyright (c) 2024 วารสารระบบบริการปฐมภูมิและเวชศาสตร์ครอบครัว http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 2024-12-26 2024-12-26 7 4 383 392 การประเมินผลการแยกโรคคอหอยอักเสบและทอนซิลอักเสบเฉียบพลันโดยใช้เครื่องมือทำนายโอกาสเสี่ยงต่อการติดเชื้อ Group A Streptococci ณ โรงพยาบาลบ้านบึง จังหวัดชลบุรี https://so03.tci-thaijo.org/index.php/PCFM/article/view/259723 <p><strong>ที่มา:</strong> เพื่อประเมินผลการใช้เครื่องมือทำนายโอกาสเสี่ยงต่อการติดเชื้อ Group A Streptococci (GAS) ได้แก่ McIsaac Modification of Centor Scoreสำหรับแยกโรคคอหอยอักเสบและทอนซิลอักเสบเฉียบพลัน</p> <p><strong>วัสดุและวิธีการ: </strong>เป็นการศึกษาย้อนหลังเชิงพรรณนาในช่วงระหว่างวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2563 ถึง 31 ธันวาคม พ.ศ. 2563 ที่โรงพยาบาลชุมชนบ้านบึง จ.ชลบุรี การศึกษารวบรวมข้อมูลลักษณะทางคลินิกของผู้ป่วยนอกที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคคอหอยอักเสบและทอนซิลอักเสบเฉียบพลันจากฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ของโรงพยาบาล</p> <p><strong>ผลการศึกษา:</strong> จำนวนครั้งของผู้ป่วยนอกที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคคอหอยอักเสบและทอนซิลอักเสบเฉียบพลัน และผ่านเกณฑ์คัดเลือกผู้ป่วยที่กำหนดไว้ คือ 2,362 ครั้ง งานวิจัยใช้ตัวอย่าง 340 คน เมื่อใช้เครื่องมือ McIsaac Modification of Centor Score ประเมิน<br />ผู้ป่วยโดยกำหนดคะแนนการตัดสินใจสั่งใช้ยาปฏิชีวนะ คือ ≥4 แต้ม พบว่าจำนวนครั้งทีผู้ป่วยมีคะแนนถึงเกณฑ์การตัดสินการสั่งใช้ยาปฏิชีวนะ คือ 1 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 0.29 และร้อยละ 82.14 ในการสั่งจ่ายชนิดยาปฏิชีวนะเป็นการใช้ยาปฏิชีวนะที่ถูกแนะนำให้ใช้ตามแนวทางการดูแลรักษาโรคนี้ ซึ่งได้แก่ amoxicillin, azithromycin และ roxithromycin แต่พบระยะเวลาการสั่งใช้ยาเหมาะสมร้อยละ 17.86</p> <p><strong>สรุป:</strong> โรงพยาบาลชุมชนที่เป็นสถานที่วิจัยเลือกใช้ชนิดของยาปฏิชีวนะส่วนใหญ่เป็นตามที่ถูกแนะนำให้ใช้ตามแนวทางการดูแลรักษาโรคคอหอยอักเสบและทอนซิลอักเสบเฉียบพลัน แต่ยังมีการสั่งใช้ยาปฏิชีวนะไม่สอดคล้องตามคำแนะนำของแนวทางการรักษามาตรฐานในโรคทั้งในแง่ข้อบ่งใช้ยา และระยะเวลาการใช้ยา หากนำ The Centor or modified Mclsaac Score มาใช้จะสามารถลดการจ่ายยาปฏิชีวนะได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ </p> <p><strong>คำสำคัญ: </strong>การแยกโรคคอหอยอักเสบเฉียบพลัน ทอนซิลอักเสบเฉียบพลัน เครื่องมือทำนายโอกาสเสี่ยงต่อการติดเชื้อ GAS</p> วิชญะ เสวกาพานิช Copyright (c) 2024 วารสารระบบบริการปฐมภูมิและเวชศาสตร์ครอบครัว http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 2024-12-26 2024-12-26 7 4 393 403 ผลของโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพด้วยการประยุกต์หลักการการจัดการตนเอง (Self management) ในการลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูง หมู่ที่ 5 ตำบลชัยนาท อำเภอเมืองชัยนาท จังหวัดชัยนาท https://so03.tci-thaijo.org/index.php/PCFM/article/view/284258 <p><strong>ที่มา:</strong> ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ปี พ.ศ. 2564 จังหวัด ชัยนาท มีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้น ร้อยละ 22.44 ต่อมาในปี พ.ศ. 2565 จำนวนผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงมีอัตราป่วยเป็นอันดับ 2 ของคนในจังหวัด ส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากการที่ไม่สามารถลดพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูงของประชาชนได้</p> <p><strong>รูปแบบการวิจัย: </strong>การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง</p> <p><strong>วัสดุและวิธีการ:</strong> เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมลดพฤติกรรมเสี่ยงการเกิดโรคความดันโลหิตสูง โดยประยุกต์ใช้แนวคิดการจัดการตนเอง ร่วมกับแนวคิดการส่งเสริมสุขภาพ 3อ. 2ส. ได้แก่ การกินอาหารหวาน อาหารเค็ม อาหารที่เป็นของมันของทอด การดื่มเครื่องดื่มประเภทกาแฟ ชา น้ำปั่น เครื่องดื่มชูกำลัง การไม่ออกกำลังกาย การจัดการกับความเครียด การดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ และการสูบบุหรี่ กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 34 คน ที่อาศัยอยู่ที่ หมู่ที่ 5 ตำบลชัยนาท อำเภอเมืองชัยนาท จังหวัดชัยนาท ดำเนินการศึกษาระหว่างเดือนตุลาคม พ.ศ. 2566 ถึงเดือนธันวาคม พ.ศ. 2566 เครื่องมือที่ใช้ประกอบด้วย แบบสอบถามพฤติกรรมเสี่ยงที่ประยุกต์จากแนวคิด 3อ. 2ส. วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา (descriptive statistics) โดยการแจกแจงความถี่ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สำหรับสถิติเชิงอนุมาน (inferential statistics) เปรียบเทียบก่อนและหลังการเข้าร่วมโปรแกรมด้วยสถิติ paired t-test และ repeated ANOVA</p> <p><strong>ผลการศึกษา:</strong> พบว่า หลังเข้าร่วมโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพ กลุ่มตัวอย่างมีค่าเฉลี่ยพฤติกรรมเสี่ยงโดยรวมลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 มีค่าเฉลี่ยดัชนีมวลกาย (กก./ม.<sup>2</sup>) และความยาวรอบเอว (ซม.) ลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ค่าเฉลี่ยความดันโลหิตขณะหัวใจบีบตัว (SBP) ภายหลังเข้าร่วมโปรแกรมมีการเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.5 ค่าเฉลี่ยความดันโลหิตขณะหัวใจคลายตัว (DBP) มีการเปลี่ยนแปลงอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ</p> <p><strong>สรุป:</strong> โปรแกรมลดพฤติกรรมเสี่ยงที่ออกแบบโดยประยุกต์ใช้แนวคิดการจัดการตนเอง ในการรับประทานอาหารหวาน อาหารเค็ม อาหารที่เป็นของมันของทอด การดื่มเครื่องดื่มประเภทกาแฟ ชา น้ำปั่น เครื่องดื่มชูกำลัง การไม่ออกกำลังกาย การจัดการกับความเครียด การดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ และการสูบบุหรี่ สามารถช่วยให้ประชาชนมีพฤติกรรมเสี่ยงลดลงได้</p> <p><strong>คำสำคัญ: </strong>โปรแกรมการจัดการตนเอง พฤติกรรมเสี่ยง ความดันโลหิตสูง</p> ดวงใจ เกริกชัยวัน Copyright (c) 2024 วารสารระบบบริการปฐมภูมิและเวชศาสตร์ครอบครัว http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 2024-12-26 2024-12-26 7 4 404 412