@article{แก้วทอง_2014, title={การดำเนินการนิเทศภายในของโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 3}, volume={2}, url={https://so03.tci-thaijo.org/index.php/Humanties-up/article/view/42727}, abstractNote={<p>การวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบการดำเนินการนิเทศภายในของโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา จำแนกตามตำแหน่งและประสบการณ์ในการทำงาน โดยเก็บข้อมูลจากผู้บริหารและครูผู้สอนในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 3 จำนวน 288 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยหา ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าทีและการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว   </p><p>ผลการวิจัยพบว่าการดำเนินการนิเทศภายในประกอบด้วย 5 ด้านได้แก่ 1) การให้ความช่วยเหลือแก่ครูโดยตรง  2) การเสริมสร้างประสบการณ์ทางวิชาชีพ 3) การพัฒนาทักษะการทำงานกลุ่ม 4) การพัฒนาหลักสูตร 5) การวิจัยเชิงปฏิบัติการ ซึ่งในชั้นเรียนอยู่ในระดับมากทุกด้าน ผลการเปรียบเทียบการดำเนินการนิเทศภายในของผู้บริหารและครูผู้สอนไม่แตกต่างกัน และเปรียบเทียบการนิเทศภายในตามประสบการณ์ในการทำงานแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระดับ .05</p><p> </p><p><strong>The Internal Supervision in Educational Extension Schools under Nakhon Si  Thammarat Primary Educational Service Area Office 3</strong></p><p><em>Srisuda  Kaewtong</em></p><p><em>faculty  of  Education, Nakhon  Si  Thammarat  Rajabhat  University</em></p><p>The objectives of this research were<span lang="TH">  </span>to study and compare the internal supervision in educational extension schools Nakhon Si Thammarat  Primary Educational Service Area Office 3, in position and work experience. The sample 288 from educational extension schools Nakhon Si Thammarat Primary Educational Service Area Office 3. Data analyzing was by percentage, mean, standard deviation, t-test and one way ANOVA. </p><p>1) Direct assistance staff 2)The result showed that internal supervision consists of five fields were 3) Development  group development 4) Curriculum development and 5) Action research at the high level. The comparison of the internal supervision in position was not different. The comparison of the internal supervision in work experience were statistically significant different at 0.05 level.</p>}, number={1}, journal={Trends of Humanities and Social Sciences Research}, author={แก้วทอง ศรีสุดา}, year={2014}, month={Mar.}, pages={25–31} }