@article{Setthakorn_Sawathwej_2019, title={The study of job embeddedness and turnover intention of beauty assistant in department stores, Bangkok area}, volume={7}, url={https://so03.tci-thaijo.org/index.php/Humanties-up/article/view/207920}, abstractNote={<p>การศึกษาวิจัย เรื่อง  ปัจจัยการฝังตรึงในงานที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจลาออกของพนักงานขายเครื่องสำอางในห้างสรรพสินค้า เขตกรุงเทพมหานคร ผู้วิจัยได้กำหนดวัตถุประสงค์ของการวิจัยในครั้งนี้ คือ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการฝังตรึงในงานของพนักงานขายเครื่องสำอางในห้างสรรพสินค้า เขตกรุงเทพมหานคร 2) เพื่อนำไปกำหนดแนวทางในการจัดการและนโยบายในการส่งเสริมการฝังตรึงในงานของพนักงานขายเครื่องสำอาง  ซึ่งกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาวิจัย คือ พนักงานขายเครื่องสำอาง ของบริษัท A จำนวน 306 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาวิจัย คือ แบบสอบถาม และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ประกอบด้วย การหาค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย  และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) วิเคราะห์ความแตกต่างของค่าเฉลี่ย ระหว่างตัวแปรโดยใช้ t-test และทดสอบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่างที่มีมากกว่า 2 กลุ่มโดยใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวน  F-test (Analysis of Variance : ANOVA) วิเคราะห์ความแตกต่างรายคู่โดยวิธี Least Square Difference (LSD) และวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression Analysis) ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นพนักงานขาย   อายุ 20 - 25 ปี สถานภาพโสดระดับการศึกษาปริญญาตรี มีภูมิลำเนาต่างจังหวัดและอัตราเงินเดือน 15,000 - 20,000 บาท ปัจจัยที่ส่งผลต่อการฝังตรึงในงาน ได้แก่ ด้านความลงตัวกับองค์กรและสภาพแวดล้อมโดยรอบมากที่สุด รองลงมา คือด้านสิ่งที่ต้องสละทางวัตถุหรือจิตใจเมื่อออกจากงาน ด้านความเชื่อมโยงกับบุคคลในองค์กรและครอบครัว ตามลำดับ</p> <p><strong> </strong></p> <p>งในงานของพนักงานขายเครื่องสำอาง  ซึ่งกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาวิจัย คือ พนักงานขายเครื่องสำอาง ของบริษัท A จำนวน 306 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาวิจัย คือ แบบสอบถาม และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ประกอบด้วย การหาค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย  และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) วิเคราะห์ความแตกต่างของค่าเฉลี่ย ระหว่างตัวแปรโดยใช้ t-test และทดสอบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่างที่มีมากกว่า 2 กลุ่มโดยใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวน  F-test (Analysis of Variance : ANOVA) วิเคราะห์ความแตกต่างรายคู่โดยวิธี Least Square Difference (LSD) และวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression Analysis) ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นพนักงานขาย   อายุ 20 - 25 ปี สถานภาพโสดระดับการศึกษาปริญญาตรี มีภูมิลำเนาต่างจังหวัดและอัตราเงินเดือน 15,000 - 20,000 บาท ปัจจัยที่ส่งผลต่อการฝังตรึงในงาน ได้แก่ ด้านความลงตัวกับองค์กรและสภาพแวดล้อมโดยรอบมากที่สุด รองลงมา คือด้านสิ่งที่ต้องสละทางวัตถุหรือจิตใจเมื่อออกจากงาน ด้านความเชื่อมโยงกับบุคคลในองค์กรและครอบครัว ตามลำดับ</p> <p><strong> </strong></p>}, number={2}, journal={Trends of Humanities and Social Sciences Research}, author={Setthakorn, Kevalin Puangyoykeaw and Sawathwej, Supaporn}, year={2019}, month={Oct.}, pages={247–263} }